230 likes | 458 Views
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( TQF:HEd ). อาจารย์สุภาพร พงษ์มณี ผู้อำนวยการสำนักวิชาการ อบรมอาจารย์ใหม่ มหาวิทยาลัยสยาม ๑๐ กันยายน ๒๕๕๔. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ การปฏิรูปการศึกษา/ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน TQF:HEd
E N D
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF:HEd)กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF:HEd) อาจารย์สุภาพร พงษ์มณีผู้อำนวยการสำนักวิชาการ อบรมอาจารย์ใหม่ มหาวิทยาลัยสยาม ๑๐ กันยายน ๒๕๕๔
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ การปฏิรูปการศึกษา/ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน TQF:HEd (Thai Qualifications Framework for Higher Education) Learning Outcomes
วัตถุประสงค์ TQF:HEd • กำหนด มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวัง(Learning Outcomes) • เชื่อมโยงระดับคุณวุฒิต่างๆ • เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ • การกำกับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของแต่ละสาขา/สาขาวิชา • เทียบเคียงมาตรฐานคุณวุฒิระหว่างสถาบัน ใน/ต่างประเทศ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง*มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง* • ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) • ด้านความรู้ (Knowledge) • ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ(Interpersonal Skill and Responsibility) • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี (Numerical Analysis, Communication and IT Skills) • * เป็น L.O. ของทุกระดับคุณวุฒิแต่มีความซับซ้อนเพิ่มขึ้นตามระดับคุณวุฒิ
สาขาที่ต้องการทักษะทางกายภาพสูง ได้แก่ การเต้นรำ ดนตรี การวาดภาพ พลศึกษา การแพทย์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ ........เพิ่มด้านที่ ๖ ด้านทักษะพิสัย (Domain of Psychomotor Skill)
วิธีการพัฒนาผลการเรียนรู้วิธีการพัฒนาผลการเรียนรู้ • การเรียนการสอน • การเข้าร่วมกิจกรรมในหลักสูตร • การเข้าร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตร
การปฏิบัติตามกรอบ มคอ. (TQF:HEd) • มคอ.๑ มาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษา.... สาขา/สาขาวิชา.... • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ.๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาโลจิสติกส์ พ.ศ.๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว พ.ศ.๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ.๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี พ.ศ.๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรห้าปี) พ.ศ.๒๕๕๔ • มคอ.๒ รายละเอียดของหลักสูตร
การปฏิบัติตามกรอบ มคอ. (TQF:HEd) (ต่อ) • มคอ.๓ รายละเอียดของรายวิชา • มคอ.๔ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม • มคอ.๕ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา • มคอ.๖ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม • มคอ.๗ รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร • ดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ www.academic.siam.edu
มคอ.๓ รายละเอียดของรายวิชา
มคอ.๓ รายละเอียดของรายวิชา เค้าโครงการสอน (เดิม) + การพัฒนาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของบัณฑิต
หมวดที่ ๓ จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ จำนวนหน่วยกิต (จำนวนชั่วโมงบรรยาย-ปฏิบัติการ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) ๑ หน่วยกิตทฤษฎี = ๑ ช.ม.บรรยาย + ๒ ช.ม.ค้นคว้าด้วยตนเอง ๑ หน่วยกิตปฏิบัติการ = ๒ หรือ ๓ ช.ม.ปฏิบัติ + ๑ ช.ม.ค้นคว้าด้วยตนเอง ตัวอย่าง วิชา ๑๒๑-๑๐๑เทคโนโลยีสารสนเทศ ๓ หน่วยกิต ประกอบด้วย ๒ หน่วยกิตบรรยายและ ๑ หน่วยกิตปฏิบัติ ๓ (๒-๒-๕) ๓ หน่วยกิตบรรยาย ๓(๓-๐-๖) ๑ หน่วยกิตปฏิบัติการ ๑(๐-๒-๑)
หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา • ทักษะทั้ง ๕ ด้าน (อย่างน้อย) • คุณธรรม จริยธรรม • ความรู้ • ปัญญา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี • วิธีการสอนเพื่อพัฒนาแต่ละทักษะ : การสอน & กิจกรรม(ใน-นอก ห้องเรียน) • วิธีการประเมินผลของแต่ละทักษะ
วิธีการสอนแต่ละทักษะผลการเรียนรู้วิธีการสอนแต่ละทักษะผลการเรียนรู้ • การบรรยาย • การอภิปราย • Seminar • การสอนโดยการนิรนัย (Deductive) • การสอนโดยการอุปนัย (Inductive) • การใช้กรณีศึกษา (Case) • การแสดงบทบาทสมมุติ • ภาคสนาม • การไปทัศนศึกษา • การใช้สถานการณ์จำลอง • การสาธิต • การทดลอง ๑๓. การเรียนแบบออนไลน์ ๑๔. การฝึกงาน ๑๕.การสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน ๑๖. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ๑๗.การศึกษาค้นคว้าโดยอิสระ (I S) ๑๘. การระดมสมอง (Brain storming) ๑๙. การฝึกปฏิบัติ ๒๐. การเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบ/ปราชญ์ ๒๑.การสะท้อนความคิด (Reflective thinking) ……. ……. รายละเอียดเพิ่มเติม www.academic.siam.edu
วิธีการประเมินผล • การสอบข้อเขียน • การสอบปากเปล่า • การสอบทักษะ • การประเมินกระบวนการทำงาน/บทบาทในการทำกิจกรรม • การประเมินผลงาน • การประเมินโดยเพื่อน (peer Assessment) • การเข้าชั้นเรียน • การนำเสนอผลงาน • การประเมินแฟ้มพัฒนางาน/แฟ้มสะสมงาน • อื่นๆ .......... • รายละเอียดเพิ่มเติม www.academic.siam.edu
หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล • แผนการประเมินการเรียนรู้ • หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน • หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
มคอ.๔ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
ประกอบด้วย ๗ หมวด ดังนี้ หมวดที่ ๑ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ ๓การพัฒนาผลการเรียนรู้ หมวดที่ ๔ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ ๕การวางแผนและการเตรียมการ หมวดที่ ๖การประเมินนักศึกษา หมวดที่ ๗การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการ ของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. ๕ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา
มคอ. ๕ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา รายงานการจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน หมวดที่ ๓ สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา หมวดที่ ๔ ปัญหาและผลกระทบต่อการดำเนินการ หมวดที่ ๕ การประเมินรายวิชา หมวดที่ ๖ แผนการปรับปรุง
มคอ.๖ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
วัตถุประสงค์ TQF:HEd • กำหนด มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวัง(Learning Outcomes) • เชื่อมโยงระดับคุณวุฒิต่างๆ • เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ • การกำกับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของแต่ละสาขา/สาขาวิชา • เทียบเคียงมาตรฐานคุณวุฒิระหว่างสถาบัน ใน/ต่างประเทศ
ติดต่อ สำนักวิชาการ โทร ๑๖๕ www.academic.siam.edu อาจารย์สุภาพร พงษ์มณี ผู้อำนวยการสำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยสยาม