1 / 77

TQF

TQF. รศ . ดร . วราภรณ์ เอี้ยวสกุล สถานพัฒนาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุร นารี. โครงสร้าง. แผนภูมิขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต กรอบ TQF ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบ TQF แบบ มคอ . 1-7. TQF. Thai Qualifications Framework For Higher Education : TQF HEd

blanca
Download Presentation

TQF

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. TQF รศ. ดร. วราภรณ์ เอี้ยวสกุล สถานพัฒนาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

  2. โครงสร้าง • แผนภูมิขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต • กรอบ TQF • ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบ TQF • แบบ มคอ. 1-7

  3. TQF Thai Qualifications Framework For Higher Education : TQF HEd กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

  4. TQF มุ่งเน้นเป้าหมายจัดการศึกษาที่ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (learning outcomes) ซึ่งเป็นการประกันคุณภาพบัณฑิตที่ได้รับ คุณวุฒิแต่ละคุณวุฒิ โดยสื่อสารเข้าใจตรงกัน เชื่อมั่นในผลการเรียนรู้ มีมาตรฐานที่สามารถเทียบเคียงกันได้ในและต่างประเทศ

  5. แนวคิด TQF • ผลการเรียนรู้ (Learning outcomes) • มาตรฐานขั้นต่ำเชิงคุณภาพ & QA(Minimum qualification) • มาตรฐานผลการเรียนรู้ : พิสัยของการเรียนรู้ (Domains of learning)

  6. TQF • มีแนวทางชัดเจนในการพัฒนาหลักสูตร • ปรับกลวิธีการสอนของอาจารย์ & การเรียนรู้ของนักศึกษา • การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

  7. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ กรอบแสดงระบบคุณวุฒิการศึกษา • ระดับคุณวุฒิ • การแบ่งสายวิชา • การเชื่อมโยงระดับคุณวุฒิ • มาตรฐานผลการเรียนรู้ • ลักษณะหลักสูตร ปริมาณการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเวลา • การเทียบโอนผลการเรียนรู้ หน่วยกิต

  8. การแบ่งสายวิชา • สายวิชาการ ศาสตร์บริสุทธิ์ด้านศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มุ่งศึกษาสาระของศาสตร์สาขานั้น ไม่สัมพันธ์โดยตรงกับการประกอบอาชีพ • สายวิชาชีพ ศาสตร์เชิงประยุกต์ มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะระดับสูงในการประกอบอาชีพ

  9. ระดับคุณวุฒิ • ระดับที่ 1 อนุปริญญา ( 3 ปี) • ระดับที่ 2 ปริญญาตรี • ระดับที่ 3 ประกาศนียบัตร • ระดับที่ 4 ปริญญาโท • ระดับที่ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง • ระดับที่ 6 ปริญญาเอก

  10. คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เกณฑ์ ระดับปริญญาตรี • ความรู้ครอบคลุม สอดคล้อง เป็นระบบกับสาขาวิชา • ความสามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างสร้างสรรค์ • ความสามารถค้นหา ใช้คณิตศาสตร์ สถิติในการวิเคราะห์ แก้ปัญหาที่ซับซ้อน และเผยแพร่ผล • ทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน

  11. คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ระดับปริญญาตรี • มีความคิดริเริ่มแก้ปัญหา มีภาวะผู้นำ • ประยุกต์ทฤษฎี การค้นคว้าเพื่อแก้ปัญหา ข้อโต้แย้ง • แสวงหา เสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาทางวิชาชีพ โดยยอมรับข้อจำกัดของธรรมชาติความรู้ในสาขาวิชา • ติดตามพัฒนาการในศาสตร์ของตนให้ทันสมัย • มีจริยธรรม ความรับผิดชอบสูงทางวิชาการ วิชาชีพ ชุมชน

  12. คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เกณฑ์ ระดับปริญญาโท • ความรู้เข้าใจถ่องแท้ในทฤษฎี ผลการวิจัย • รอบรู้ในการใช้เทคนิคการวิจัยเพื่อศึกษาค้นคว้าระดับสูง • สังเคราะห์ ประยุกต์ผลการวิจัยในการปฏิบัติวิชาชีพ • เผยแพร่ผลการศึกษาค้นคว้าในสื่อต่างๆ

  13. คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ระดับปริญญาโท • ศึกษาค้นคว้าปัญหาในวิชาชีพที่ซับซ้อนสม่ำเสมอ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ • แสดงออกเป็นอิสระในการจัดการปัญหา ทำงานกับผู้อื่น มีภาวะผู้นำ • ติดตามการใช้ดุลยพินิช คุณธรรมในการแก้ปัญหาละเอียดอ่อน • พัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

  14. มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชามาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา กรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต ในแต่ละคุณวุฒิของสาขาวิชา เพื่อเป็นหลักประกันว่า บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างๆ มีคุณภาพไม่น้อยกว่าที่กำหนด

  15. มาตรฐานผลการเรียนรู้ • หลักสูตร • กระบวนการเรียนการสอน หลากหลาย • มั่นใจในคุณภาพบัณฑิต - ประกอบอาชีพมีความสุข & ภาคภูมิใจ - เป็นที่พอใจของนายจ้าง • ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

  16. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต • มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ • สร้าง ประยุกต์ความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง • ปฏิบัติงาน & สร้างงานเพื่อพัฒนาสังคม ให้แข่งขันได้ในระดับสากล

  17. มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต (ต่อ) • มีจิตสำนึก ดำรงชีวิต • ปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบ • โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม • มีสุขภาพดี ทั้งร่างกาย จิตใจ • รักษาสุขภาพ

  18. เป้าหมายการผลิตบัณฑิต • คุณธรรม จริยธรรม • ความรู้ • ทักษะทางปัญญา • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล รับผิดชอบ • ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร & เทคโนโลยีสารสนเทศ • ทักษะพิสัย

  19. คุณธรรม จริยธรรม • พัฒนานิสัยในการประพฤติอย่างมีคุณธรรม • มีความรับผิดชอบในส่วนตนและส่วนรวม • สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยม พัฒนานิสัยและปฏิบัติตนตามศีลธรรม ทั้งในส่วนตนและสังคม

  20. ความรู้ • ความสามารถในการเข้าใจ การนึกคิด การนำเสนอข้อมูล • การวิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี และกระบวนการต่างๆ • สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้

  21. ทักษะทางปัญญา • ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ • การใช้ความรู้ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี กระบวนการต่างๆในการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ๆที่ไม่คาดคิดมาก่อน

  22. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล & ความรับผิดชอบ • ความสามารถในการทำงานกลุ่ม • การแสดงภาวะผู้นำ • ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม • ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง

  23. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ความสามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลข • ความสามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์ สถิติ • ความสามารถในการสื่อสาร : พูด เขียน • ความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

  24. การทวนสอบมาตรฐาน การหาหลักฐาน เช่น สังเกต ตรวจสอบ ประเมินสัมภาษณ์ เพื่อยืนยันพิสูจน์ว่า สิ่งที่กำหนดได้มีการการ บรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ • ผลการเรียน: กระดาษคำตอบ งานที่มอบให้ • ประเมินหลักสูตร การสอน โดย นักศึกษา บัณฑิต • รายงานโดยผู้ใช้บัณฑิต

  25. ขั้นตอนการปฏิบัติ TQF • การพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา • การจัดทำรายละเอียดหลักสูตร • การจัดทำรายละเอียดรายวิชา • การขออนุมัติหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัย • การเสนอหลักสูตรต่อ สกอ. • การบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน

  26. ขั้นตอนการปฏิบัติ TQF (ต่อ) • การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา หลักสูตร • การประกันคุณภาพหลักสูตร การเรียนการสอน • การเผยแพร่หลักสูตรในฐานข้อมูลหลักสูตร TQR - ผลการประเมินคุณภาพภายในมีคะแนนเฉลี่ยระดับดี ขึ้นไป ต่อเนื่องกัน 2 ปี 10. การกำกับ ดูแล ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาโดยคณะกรรมการอุดมศึกษา

  27. แบบ มคอ. 1 มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาแพทยศาสตร์ • ชื่อสาขาวิชา • ชื่อปริญญา • ลักษณะสาขาวิชา • คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ • มาตรฐานผลการเรียนรู้ • องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง • โครงสร้างหลักสูตร • เนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา • กลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้

  28. แบบ มคอ. 1 (ต่อ) 10. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ • คุณสมบัติผู้เข้าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้ • คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน • ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ • แนวทาวทางการพัฒนาคณาจารย์ • การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน • การนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติ • การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพ • รายชื่อและหน่วยงานของคณะกรรมการจัดทำคุณวุฒิสาขา

  29. แบบ มคอ. 2 หลักสูตร หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร หมวดที่ 3 ระบบจัดการศึกษา ดำเนินการโครงสร้างหลักสูตร หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน ประเมินผล หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที่ 8 การประเมิน ปรับปรุงการดำเนินการหลักสูตร

  30. แบบ มคอ. 2 หลักสูตรแพทยศาสตร์ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ… ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะ/ภาควิชา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป • รหัสและชื่อหลักสูตร • ชื่อปริญญาและสาขาวิชา • วิชาเอก (ถ้ามี) • จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร • รูปแบบหลักสูตร • สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติหลักสูตร

  31. แบบ มคอ. 2 (ต่อ) • ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน • อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา • ชื่อ สกุล เลขบัตรประชาชน ตำแหน่ง คุณวุฒิอาจารย์รับผิดชอบ • สถานที่จัดการเรียนการสอน • สถานการณ์ภายนอก การพัฒนาที่จำเป็นในการวางหลักสูตร • ผลกระทบข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตร เกี่ยวข้องกับ พันธกิจสถาบัน 13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่น (ถ้ามี)

  32. แบบ มคอ. 2 (ต่อ) หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร • ปรัชญา ความสำคัญ วัตถุประสงค์หลักสูตร • แผนพัฒนาปรับปรุง หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา โครงสร้างหลักสูตร • ระบบการจัดการศึกษา • การดำเนินการหลักสูตร • หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน • องค์ประกอบประสบการณ์ภาคสนาม การฝึกงาน • ข้อกำหนด การทำโครงงานงานวิจัย (ถ้ามี)

  33. แบบ มคอ. 2 (ต่อ) หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน การประเมินผล • การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา • การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน • Curriculum Mapping หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา • กฎระเบียบ หลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน • กระบวนการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธ์ของนักศึกษา • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

  34. แบบ มคอ. 2 (ต่อ) หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ • การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่ • การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพการศึกษา • การบริหารหลักสูตร • การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน • การบริหารคณาจารย์ • การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน • การสนับสนุน การให้คำแนะนำนักศึกษา • ความต้องการของผู้ใช้ 7. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน

  35. สกอ: แนวทางปฏิบัติTQF ข้อ 6.1 พัฒนาอาจารย์อย่างต่อเนื่อง ด้าน • วิชาการ • วิธีการสอน • วิธีการวัดผล สรุป: เตรียม & พัฒนาความเป็นครู

  36. แบบ มคอ. 2 (ต่อ) หมวดที่ 8. การประเมินปรับปรุงการดำเนินการหลักสูตร • การประเมินประสิทธิผลของการสอน • การประเมินหลักสูตรในภาพรวม • การประเมินผลการดำเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร • การทบทวนการประเมินและวางแผนปรับปรุง

  37. แบบ มคอ. 3 รายละเอียดรายวิชา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

  38. แบบ มคอ. 3 (ต่อ) หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป • รหัส ชื่อรายวิชา จำนวนหน่วยกิต • ชื่อหลักสูตร ประเภทรายวิชา • อาจารย์รับผิดชอบรายวิชาและ ผู้สอน • ภาคการศึกษา ชั้นปีที่เรียน • รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน • รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน • สถานที่เรียน วันที่จัดทำ

  39. แบบ มคอ. 3 (ต่อ) หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ • จุดมุ่งหมายรายวิชา • วัตถุประสงค์การพัฒนารายวิชา หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ • คำอธิบายรายวิชา • จำนวน ช.ม ที่ใช้ต่อภาคการศึกษา • จำนวน ช.ม ต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาทางวิชาการ เป็นรายคน

  40. แบบ มคอ. 3 (ต่อ) หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา • สรุปสั้นๆเกี่ยวกับ ความรู้ ทักษะที่มุ่งหวังพัฒนา • คำอธิบายวิธีการสอน • วิธีการวัดประเมินผลการเรียนรู้ หมวดที่ 5 แผนการสอนและประเมินผล • แผนการสอน • แผนการประเมินผลการเรียนรู้

  41. แบบ มคอ. 3 (ต่อ) หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน • ตำราและ เอกสารหลัก • เอกสารและข้อมูลสำคัญ หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา • กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา • กลยุทธ์การประเมินการสอน • การปรับปรุงการสอน • การทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธ์ของนักศึกษาในรายวิชา

  42. แบบ มคอ. 4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ หมวดที่ 4 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินฝึกภาคสนาม

  43. แบบ มคอ. 4 (ต่อ) หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป • รหัส ชื่อรายวิชา จำนวนหน่วยกิต • หลักสูตรและประเภทรายวิชา • อาจารย์รับผิดชอบ / ที่ปรึกษา การฝึกภาคสนาม • ภาคการศึกษา ชั้นปี • วันที่จัดทำ ปรับปรุงครั้งล่าสุด

  44. แบบ มคอ. 4 (ต่อ) หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ • จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม • วัตถุประสงค์ของการพัฒนา ปรับปรุง หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ • สรุปความรู้ ทักษะที่ต้องการพัฒนา • อธิบายกระบวนการ กิจกรรมที่จะพัฒนา • วิธีการที่จะใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้

  45. แบบ มคอ. 4 (ต่อ) หมวดที่ 4 ลักษณะและการดำเนินการ • คำอธิบายโดยทั่วไป คำอธิบายรายวิชา • กิจกรรมของนักศึกษา • รายงาน งานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย • การติดตามผลการเรียนรู้ • หน้าที่ ความรับผิดชอบของพี่เลี้ยงในภาคสนาม • หน้าที่ ความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา นิเทศ • การเตรียมการแนะแนว ช่วยเหลือนักศึกษา • สิ่งอำนวยความสะดวก การสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ฝึกงาน

More Related