260 likes | 532 Views
การบูรณาการความร่วมมือพัฒนา OTOP ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กับ กรมการพัฒนาชุมชน. โดย นายขวัญชัย วงศ์นิติกร อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน. 7 ตุลาคม 2556 ณ มทร.พระนคร กรุงเทพ. ขอขอบคุณท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. ผู้ประกอบการ OTOP การพัฒนาบทบาทสตรี.
E N D
การบูรณาการความร่วมมือพัฒนา OTOP • ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล • กับ • กรมการพัฒนาชุมชน โดย นายขวัญชัย วงศ์นิติกร อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน 7 ตุลาคม 2556 ณ มทร.พระนคร กรุงเทพ
ขอขอบคุณท่านอธิการบดีขอขอบคุณท่านอธิการบดี • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ผู้ประกอบการ OTOP การพัฒนาบทบาทสตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรมการพัฒนาชุมชน
เป้าหมายกรมการพัฒนาชุมชนเป้าหมายกรมการพัฒนาชุมชน ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง พัฒนาพลังสตรี ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ ชุมชนเข้มแข็ง จัดการตนเองได้ กลไกการพัฒนา มีศักยภาพและ ขีดความสามารถ การบริหารจัดการชุมชน เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ • เศรษฐกิจพอเพียง • ทุนชุมชน • มุ่งอนาคตร่วมกัน • พึ่งตนเอง ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข • องค์กรบริหารการพัฒนา • แผนชุมชน • ข้อมูลเพื่อการพัฒนา ปรับตัวทันการเปลี่ยนแปลง • ผู้นำชุมชน/สตรี • อาสาสมัคร • กลุ่ม/องค์กร • เครือข่าย เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ทุนชุมชนมีธรรมาภิบาล เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองได้ KM, R&D, HRD, HRM, IT, Org.Cul., Marketing, Supporting
จุดเน้นภารกิจสำคัญของกรมการพัฒนาชุมชนจุดเน้นภารกิจสำคัญของกรมการพัฒนาชุมชน ทุนชุมชน องค์กรการเงินชุมชน วิสาหกิจชุมชน องค์กรชุมชน สถาบัน เพื่อพัฒนาชุมชน ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ข้อมูลชุมชน (จปฐ. กชช.2ค) การถ่ายทอดความรู้สู่ประชาชน บุคลากร 6,888 คน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 76 แห่ง /อำเภอ 878 แห่ง ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน 11 แห่ง
เป้าหมายรายได้จากการจำหน่าย OTOP ภายใน พ.ศ. 2558
จำนวนผู้ลงทะเบียน OTOP หมายเหตุ : ประเภทกลุ่มและผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น แต่ SMEs ลดลง
จำนวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ลงทะเบียนปี 2555จำแนกตาม 5 ประเภท 4 Quadrant Quadrant ประเภท ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่ลงทะเบียนส่วนใหญ่เป็น C และ D มีผ้าเท่านั้นที่ส่วนใหญ่เป็น B รองลงมาเป็น C และ D กล่าวได้ว่า สินค้าส่วนใหญ่ คุณภาพปานกลางผลิตได้มาก และคุณภาพต่ำราคาต่ำผลิตได้น้อย ผ้าและส่วนหนึ่งของของใช้ เป็น สินค้าเอกลักษณ์ คุณภาพดี ผลิตได้น้อย
ผลการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP) ปี 2555 ดาว ประเภท ผลิตภัณฑ์ จากเดิมเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 5 ดาว และผู้ประกอบการ - ผลิตภัณฑ์ที่เข้าคัดสรร 11,102 ผลิตภัณฑ์ ผ่านการคัดสรร 10,090 ผลิตภัณฑ์ ไม่ผ่าน 1,012 ผลิตภัณฑ์ เนื่องจาก ละเมิดลิขสิทธิ์ มีสิ่งปลอมปนที่เป็นอันตราย ไม่มีมาตรฐานรับรอง เป็นต้น - ผลิตภัณฑ์ที่เข้าคัดสรร ส่วนใหญ่เป็นระดับ 4 ดาว จำนวน 3,448 ผลิตภัณฑ์ (34.17%) รองลงมาคือ ระดับ 3 ดาว จำนวน 2,762 ผลิตภัณฑ์ (27.37%) ระดับ 2 ดาว จำนวน 2,003 ผลิตภัณฑ์ (19.85%) ระดับ 5 ดาว จำนวน 1,628 ผลิตภัณฑ์ (16.13%) และน้อยที่สุดคือระดับ 1 ดาว 249 ผลิตภัณฑ์(2.47%)
การจำแนก OTOP ที่ลงทะเบียน เข้าคัดสรร ปี 2555 ตาม Quadrant และระดับดาว ลงทะเบียน 71,739 ผลิตภัณฑ์ XXX เข้าคัดสรร 11,102 ผลิตภัณฑ์ XXX ไม่ได้เข้าคัดสรร 60,637 ผลิตภัณฑ์ ผลการคัดสรรดาว ปี 2555
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ในปัจจุบัน Branding OTOP R & D 1. การสร้างมูลค่าเพิ่ม OTOP Innovation Positioning Marketing (Packaging) 4P1S Story to Tell
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ในปัจจุบัน 2. เน้นการผลิตสินค้าให้ตรงกับความต้องการลูกค้า ต้อนรับ AEC ที่จะเกิดขึ้น (รสนิยม ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี) 3. เน้นการเข้าถึงแหล่งทุน Micro Finance ผ่าน บสย. ธกส. กรุงไทย ออมสิน กองทุนสตรี กองทุนหมู่บ้าน) 4. เน้นการบูรณาการการทำงาน OTOP ร่วมกัน ทุกกระทรวง กรม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ตาม Quadrant สูง ดาวเด่น คุณภาพสูง ผลิตได้มาก เอกลักษณ์ คุณภาพสูง ผลิตน้อยชิ้น พัฒนา คุณภาพปานกลาง ผลิตได้มาก ปรับตัว ผลิตง่าย ได้จำนวนน้อย B A A แบ่งOTOPเป็น 4 กลุ่ม ตามคุณภาพ และปริมาณที่สามารถผลิตได้ B คุณภาพ C D C D ต่ำ สูง ปริมาณ
ความต้องการของ OTOP ในการรับบริการจากภาครัฐ ประเภท ผลิตภัณฑ์ Quadrant เจ้าภาพ A ก.พาณิชย์ B ก.ท่องเที่ยว และวัฒนธรรม C ก.อุตสาหกรรม +มหาดไทย D ก.มหาดไทย พัฒนาชุมชน ข้อมูลความต้องการที่มากที่สุด (ลำดับที่ 1) ของผู้ประกอบการ OTOP ในการรับบริการจากภาครัฐ จำนวน 49,460 ผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ 68.94 จาก 71,739 ผลิตภัณฑ์ ) จำนวน 76 จังหวัด หมายเหตุ : สำรวจความต้องการจำนวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) ทุน เช่น เงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำ 2)การตลาด เช่น สถานที่จำหน่ายสินค้าทั้งในและต่างประเทศ 3) การบริหารจัดการ เช่น แผนธุรกิจ การดำเนินธุรกิจ 4)องค์ความรู้ เช่น การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์,มาตรฐานผลิตภัณฑ์ การแปรรูป 5) การผลิต เช่น วัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ บรรจุภัณฑ์
กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ตาม Quadrant
คำสั่งคณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์คำสั่งคณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 7 คณะ 2. พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม รมต.เกษตรฯ ประธาน 1. พัฒนาการตลาด รมต.พาณิชย์ ประธาน 7. คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ทุกจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน 1. การสร้างมูลค่าเพิ่ม OTOP 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าและเครื่องแต่งกาย รมต.อุตสาหกรรม ประธาน 6. คณะอนุกรรมการระดับภูมิภาคและจังหวัด รมต.มหาดไทย ประธาน 5. พัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร รมต.สาธารณสุข ประธาน 4. พัฒนาผลิตภัณฑ์ของใช้และของที่ระลึก รมต.สำนักนายกรัฐมนตรี ประธาน
ประเด็นขอความร่วมมือ ผลิตภัณฑ์ OTOP 71,739 กว่าชนิด มีการลงทะเบียน และแจ้งความต้องการพัฒนาในแต่ละผลิตภัณฑ์ รวมถึงแยกจังหวัดไว้ ร่วมมือกันพัฒนาในบริบทต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นสถาบันบัณฑิตที่เต็มไปด้วยองค์ความรู้ และมีเครือข่ายสถาบันในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ทำอย่างไรให้ 35 จังหวัด (วิทยาเขต) ที่มีอยู่ จับมือกับ จังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ผู้ประกอบการ OTOP อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการทำแผนพัฒนา กำหนดทิศทางในการพัฒนาร่วมกัน ทดลองพัฒนาสินค้า ผู้ประกอบการในระดับตำบล หมู่บ้าน มีการแบ่งปันทรัพยากรในการพัฒนาร่วมกัน รวมทั้งส่งนักศึกษาร่วมฝึกประสบการณ์กับผู้ประกอบการ เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้จริง 4. บันทึก MOU ร่วมกัน ในกิจกรรมชัดเจน ทดลองปฏิบัติ 3 เดือน สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และร่วมกันปรับปรุง และพัฒนาต่อไป
การบูรณาการงาน OTOP กรมการพัฒนาชุมชน กับ เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล นายพิสันติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ความเป็นมา บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการสนับสนุนโครงการ OTOP ระหว่าง กรมการพัฒนาชุมชน กับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และเครือข่าย วัตถุประสงค์ * เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ OTOP อย่างมีระบบ * เพื่อเสริมสร้างโอกาสและขีดความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP *เพื่อให้ชุมชนสามารถใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ OTOP ให้มีการประสานงานเชื่อมโยงระหว่างกรมการพัฒนาชุมชนและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีในการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยให้ทุกภาคส่วนผนึกกำลังด้านองค์ความรู้และเทคโนโลยีช่วยเหลือผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพและมีมาตรฐาน เป้าหมาย
บทบาทการดำเนินงาน หน่วยงานทั้ง 2 หน่วยงาน จะร่วมมือกันอย่างจริงจังตามภารกิจหน้าที่ของหน่วยงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของบันทึกความร่วมมือ ดังนี้ กรมการพัฒนาชุมชน 1) ให้การส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในการฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) ให้การส่งเสริมและสนับสนุนในการเพิ่มมูลค่าสินค้าควบคู่การบริหารจัดการ 3) เป็นศูนย์กลางการประสานงานการพัฒนาสินค้า OTOP การผลิต การตลาดและส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1) ให้ความรู้เพิ่มทักษะแก่กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการบริหารจัดการกลุ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP 2) วิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพและต่อยอดมูลค่าของกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP 3) ให้บริการข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP 4) ให้คำปรึกษาแนะนำด้านวิชาการแก่กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ข้อเสนอในการบูรณาการงาน OTOP กรมการพัฒนาชุมชน กับ เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลักษณะงาน กรมการพัฒนาชุมชน ม.ราชมงคล • แผนงานโครงการตามผลผลิตฯ ปี 2557 • - ฝึกอบรมกลุ่ม OTOP ในการจัดทำแผนธุรกิจ • - การดำเนินงาน KBO / PSO / OVC • - การเพิ่มประสิทธิภาพผู้ผลิต OTOP ด้านการตลาด การผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ • - การจัดแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP • - งานบันทึกภูมิปัญญา • - งานวิจัยและพัฒนา • ให้ความรู้เพิ่มทักษะแก่กลุ่ม OTOP ด้านการบริหารจัดการกลุ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP • วิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพและต่อยอดมูลค่าของกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOPด้วยการถ่ายทอดเทคโนโลยี และ ฝึกอบรม • ให้บริการข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP • ให้คำปรึกษาแนะนำด้านวิชาการแก่กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP • ให้องค์ความรู้การบริหารจัดการธุรกิจสมัยใหม่ด้วย หลักสูตรมาตรฐานการจัดการวิสาหกิจชุมชน (มจก.) 5 ด้าน
ข้อเสนอในการบูรณาการงาน OTOP กรมการพัฒนาชุมชน กับ เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลักษณะงาน กรมการพัฒนาชุมชน ม.ราชมงคล ด้านการฝึกอบรม • กรมฯ มีศูนย์ศึกษาและพัฒนาฯ จำนวน 11 แห่ง 4 แห่ง ใช้เป็นสถานที่ฝึกอบรมฯ ค่าใช้จ่ายต่ำ /มีบุคลากรและวัสดุอุปกรณ์ • ในระดับจังหวัด มีการฝึกอบรมโครงการตามผลผลิตฯ ที่ต้องการวิทยากรเฉพาะด้าน • สถาบันประสานใช้สถานที่ศูนย์ฯในการฝึกอบรมตามหลักสูตรฯ • สถาบันฯ สนับสนุนวิทยากรและเนื้อหาหลักสูตรในการฝึกอบรม • สถาบันฯ กำหนด/สร้างหลักสูตรร่วมกัน เพื่อใช้ในการพัฒนา OTOP • จัดทำงานวิจัยและพัฒนาร่วมกัน ด้านโครงการเด่น จังหวัด เช่น KBO PSO คัดสรร OTOP ประกวดแผนธุรกิจ • สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจัดทำโครงการฯ • มีงบประมาณในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี • มีคณะทำงานดำเนินการเป็นรูปธรรม • สถาบันสนับสนุนบุคลากรเข้าร่วมเป็นคณะทำงานฯ ในระดับจังหวัด • จัดทำหลักสูตรเฉพาะด้าน • จัดทำผลงานวิจัยและพัฒนา
ข้อเสนอในการบูรณาการงาน OTOP กรมการพัฒนาชุมชน กับ เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลักษณะงาน กรมการพัฒนาชุมชน ม.ราชมงคล ด้านหลักสูตร • กรมฯ กำหนดหลักสูตร/แนวทางในการพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในด้าน • - การผลิต • - การพัฒนาผลิตภัณฑ์ • - การตลาด • - การจัดทำแผนธุรกิจ • * กรมฯ ประสานให้ใช้สถานที่กลุ่มเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ตามหลักสูตร • ** จัดกลุ่ม OTOP สำหรับให้นักศึกษาได้มีการฝึกงานด้านการดำเนินงานเชิงธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรม • *** ในการจัดงานแสดงและจำหน่ายสินค้า ให้ใช้งานดังกล่าวเป็นพื้นที่ภาคสนามตามหลักสูตรของสถาบันฯ • สถาบันจัดทำหลักสูตร • - จัดทำหลักสูตรเพิ่มประสิทธิภาพพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ/ผลิตภัณฑ์สำหรับนักศึกษา • - จัดหลักสูตรการศึกษาด้านอาชีพ OTOP ในแต่ละรายวิชา/ภาควิชา และมีศึกษาดูงาน ณ สถานประกอบการ OTOP • - จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น/ระยะยาวสำหรับผู้ประกอบการ • - จัดระบบหลักสูตรการศึกษาทางไกล สำหรับผู้ผลิต ผู้ประกอบการที่สนใจศึกษาต่อในระบบการศึกษา • - จัดหลักสูตร Mini MBA สำหรับผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP