190 likes | 662 Views
Branding & Positioning OTOP. ขวัญชัย วงศ์นิติกร อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน. รายได้จาก OTOP สูงขึ้น แต่อัตราการเติบโต ลดลง ตั้งเป้าทะลุ 100,000 ล้านภายในปี 2558. จำนวน ผลิตภัณฑ์ที่ 7,753 16,808 26,517 76,876 69,217 85,173 71,739
E N D
Branding & Positioning OTOP ขวัญชัย วงศ์นิติกรอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
รายได้จาก OTOP สูงขึ้น แต่อัตราการเติบโตลดลง ตั้งเป้าทะลุ 100,000 ล้านภายในปี 2558 จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ 7,753 16,808 26,517 76,876 69,217 85,173 71,739 ลงทะเบียน
OTOP ที่ลงทะเบียน 2555 ผลิตภัณฑ์ที่ลงทะเบียนส่วนใหญ่เป็น C และ D มีผ้าเท่านั้นที่ส่วนใหญ่เป็น B รองลงมาเป็น C และ D กล่าวได้ว่า สินค้าส่วนใหญ่ คุณภาพปานกลางผลิตได้มาก และคุณภาพต่ำราคาต่ำผลิตได้น้อย ผ้าและส่วนหนึ่งของของใช้ เป็น สินค้าเอกลักษณ์ คุณภาพดี ผลิตได้น้อย
ผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ลงทะเบียนในปี 2555 จำแนกตาม Segment 5,687 ผลิตภัณฑ์ 15,168 ผลิตภัณฑ์ 23,489 ผลิตภัณฑ์ 27,395 ผลิตภัณฑ์ รวม 71,739 ผลิตภัณฑ์
กรอบการจัดกลุ่ม OTOP Segment ดาวเด่น เอกลักษณ์
กรอบการจัดกลุ่ม OTOP Segment พัฒนา ปรับตัว
OTOP ที่เข้าคัดสรร 2555 ผลิตภัณฑ์ที่เข้าคัดสรรส่วนใหญ่เป็น C และ B มีเครื่องดื่มและสมุนไพร เป็น C และ A
การจำแนก OTOP ที่ลงทะเบียน เข้าคัดสรร ปี 2555 ตาม Quadrant และระดับดาว ลงทะเบียน 71,739 ผลิตภัณฑ์ XXX เข้าคัดสรร 11,102 ผลิตภัณฑ์ XXX ไม่ได้เข้าคัดสรร 60,637 ผลิตภัณฑ์ ผลการคัดสรรดาว ปี 2555
เมื่อเพิ่มมิติด้านตลาดเข้าไป ทำให้ต้องมีการกำหนด Strategic Positioning ของแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน กรอบการพัฒนา OTOP ตาม Market segment ในปัจจุบัน เน้นด้านการผลิตเท่านั้น Supply focus Demand focus สูง คุณภาพ+ราคา ต่ำ สูง ปริมาณ/กำลังการผลิต
กิจกรรมสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านมิติการพัฒนา OTOP Demand focus Supply focus Logistic Marketing Financing Branding Distribution Center R&D Networking Organizing
การกำหนดกรอบหลักเกณฑ์จัดกลุ่ม OTOP ตาม segment (A B C D)ปรับเปลี่ยนแนวคิดการจัดขอบเขต market segment ของ OTOPจาก”การพัฒนานำตลาด” เป็น “ตลาดนำการพัฒนา” มุมมองที่เน้นพัฒนาผู้ประกอบการ (การพัฒนานำตลาด : Inside-Out) มุมมองที่เน้นพัฒนาสินค้า (ตลาดนำการพัฒนา : Outside-In) • ตลาดสินค้า OTOP มีอะไรบ้าง • แต่ละตลาดต้องการสินค้าแบบใด • ระบุสินค้า OTOP ที่มีศักยภาพที่จะเข้าสู่แต่ละตลาดได้ • จะต้องพัฒนาสินค้า มีศักยภาพนั้นด้านใดบ้าง เพื่อให้สามารถเข้าสู่แต่ละตลาด • ผู้ประกอบการที่ผลิตสินค้านั้น ๆ จะต้องได้รับการพัฒนาอย่างไรบ้าง • ผู้ประกอบการ OTOP สามารถผลิตสินค้าประเภทใด ในปริมาณและคุณภาพระดับใด • ผู้ประกอบการต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาด้านใด • ตลาดใดบ้างที่จะรองรับสินค้า OTOP ที่ผลิตได้ในปัจจุบัน • จะพัฒนาผู้ประกอบการอย่างไร ให้สามารถขายสินค้าในตลาดต่าง ๆ ได้
ตลาดของ OTOP • Gallery • Plaza • Department Store • OTOP Shop • Market Place • Distribution Center • e-Commerce • Mobile Unit OTOP Shop O T O P
การพัฒนา OTOP อย่างเป็นระบบต้องพิจารณา 4 มิติ • Market Segment • กลุ่ม A ดาวเด่น • กลุ่ม B เอกลักษณ์ • กลุ่ม C พัฒนา • กลุ่ม D ปรับตัว • Area • ภาคเหนือ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ภาคกลาง • ภาคตะวันออก • ภาคใต้ • Sector • กลุ่มอาหาร • กลุ่มเครื่องดื่ม • กลุ่มผ้าและเครื่องแต่งกาย • กลุ่มของใช้+ของที่ระลึก • กลุ่มสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร • Product Standard • การจัดดาว • 5 ดาว • 4 ดาว • 3 ดาว • 2 ดาว • 1 ดาว
ตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ของ OTOP แต่ละ Segment สูง ความสามารถในการสร้างความแตกต่าง Product Differentiation Differentiation – focus (Niche) Cost – focus (Mass Customization) Cost Leadership (Mass) ต่ำ กว้าง แคบ ตลาดเป้าหมาย
กลยุทธ์ส่งเสริม OTOP ตาม Segment เสริมจุดเด่น+สร้างความต่างที่ตรงใจลูกค้า+สร้างแบรนด์ พัฒนาสู่มาตรฐานสากล+สร้างแบรนด์ เพิ่มผลผลิต/ประสิทธิภาพ+ยกระดับมาตรฐาน+ขยายตลาด พัฒนาผลิตภัณฑ์และทักษะ +ขยายตลาด+ค้นหาความเก่ง
ยุทธศาสตร์ OTOP (2556-2558) 1 2 กลยุทธ์ส่งเสริม OTOP ตาม Segment กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนโครงการ OTOP
ยุทธศาสตร์ OTOP (2556-2558) เป้าหมาย ปี 2558 ตัวชี้วัด จำนวนผู้ประกอบการรุ่นใหม่เพิ่มขึ้น รายได้การจำหน่าย OTOP เพิ่มขึ้นเป็น 1 แสนล้านบาท (ปัจจุบัน 79.461 ล้านบาท) จำนวนสมาชิกเครือข่ายชุมชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี สัดส่วนมูลค่าส่งออก OTOP ต่อจำนวนสินค้าที่ผลิตได้ทั้งหมดเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 12 ในปี 2558 จำนวนผลิตภัณฑ์ได้รับมาตรฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี 6.1 จำนวนสินค้า OTOP ที่จดทะเบียน IP/GI เพิ่มขึ้น 6.2 จำนวนสินค้าที่มีการวิจัยและพัฒนา/สร้าง นวัตกรรมไปสู่เชิงพาณิชย์เพิ่มขึ้น • สร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ • สร้างงานสร้างรายได้ชุมชน • เครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง • OTOP ก้าวไกลสู่สากล • ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานสูงขึ้น • ผลิตภัณฑ์มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นจากการพัฒนานวัตกรรม