1 / 16

Key words

การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟ ทาจิ , เมย์ลิน ดา เฟ ทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออก เฉียง ใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย เมืองเทโทโว สาธารณรัฐมาซิโด เนีย.

zlhna
Download Presentation

Key words

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำE-Learningโดย เบคิมเฟทาจิ ,เมย์ลินดา เฟทาจิมหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัยเมืองเทโทโวสาธารณรัฐมาซิโดเนีย

  2. มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาและการสำรวจตามเว็บถูกนำมาใช้เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่ e - learning ผู้วิจัยใช้เป็นการกำหนดตัวชี้วัดของe - learning ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพโดยรวม ความคิดและความสนใจเกี่ยวกับe - learning • สิ่งที่การทำวิจัยนี้สนใจ • พัฒนาตัวชี้วัดที่มีมาก่อนหน้านี้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น • วัตถุประสงค์หลักของการทำวิจัย • เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเผยแพร่ความรู้ของ e-learning โดยการกำหนดตัวชี้วัดให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถใช้ได้ทุกสภาพแวดล้อม • ข้อเสนอแนะของตัวชี้วัดอยู่ในรูปแบบที่ใช้ในวงกว้างสามารถปรับใช้ได้กับทุกสภาพแวดล้อมของe-learning

  3. Key words • E-Learning การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • indicators ตัวชี้วัด • enhanced learningการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้

  4. บทนำ • การออกแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม ทำให้สามารถประเมินและวัดผลการเรียนรู้ของนักเรียนได้ • การออกแบบการเรียนการสอนต้องยืดหยุ่นได้ • วัตถุประสงค์เพื่อการวิเคราะห์เปรียบเทียบตัวชี้วัดและผลลัพธ์ของ e-learning โดยสรุปที่จะถูกใช้อย่างกว้างขวาง

  5. ตัวชี้วัดของ e-learning • ตัวชี้วัด e - learning มีการประเมินและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับสภาพแวดล้อมเสมือนจริง โดยซอฟแวร์ Angel Learning Management System-LMs

  6. ภาพรวมของการสำรวจ • หลักทั่ว ๆ ไปของการออกแบบ : ผู้ชมหรือผู้ใช้งาน + จุดประสงค์หรือความต้องการ= การออกแบบ • การสำรวจครั้งนี้แบ่งเป็น 17 ส่วน ครอบคลุมเนื้อหาของ e-learning ตามข้อมูลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น • ตัวชี้วัดกำหนดไว้ก่อนหน้านี้มีทั้งหมด 23 คำถาม • ตัวชี้วัดถูกแจ้งให้ทราบผ่านลิงค์ไปยังผู้เกี่ยวข้องบนเว็บบอร์ด ซึ่งเป็นระบบ e-serviceของมหาวิทยาลัย • ข้อมูลถูกเก็บโดย Angel Learning Management Systemและวิเคราะห์เพิ่มเติมโดยโปรแกรม Excel

  7. การวิเคราะห์ผลสำรวจและผลลัพธ์การวิเคราะห์ผลสำรวจและผลลัพธ์ • เพราะว่าการวิจัยนี้มีข้อจำกัด เราจึงพูดถึงการวิจัยในมหาวิทยาลัยของเราเท่านั้น และได้วิเคราะห์ตัวชี้วัดที่สำคัญหลายตัวแล้วว่ามีความสำคัญ • วิเคราะห์ของตัวบ่งชี้: อุปสรรค -ขอบเขต • วิเคราะห์ของตัวบ่งชี้: หลักสูตรที่เหมาะสมเพื่อการเรียนรู้

  8. ตัวชี้วัด 1. อุปสรรค

  9. ตัวชี้วัด 2. เวลาที่เหมาะสมที่สุดในการเรียนรู้

  10. ตัวชี้วัด 3. รูปแบบเนื้อหา

  11. ตัวชี้วัด 4. เวลาที่ดีที่สุดสำหรับการเรียนออนไลน์

  12. ตัวชี้วัด 5. การตั้งค่า E – Learning

  13. ตัวชี้วัด 6. การเข้าถึงสื่อการเรียนรู้

  14. สรุป • การใช้วิธีการที่จะประสบความสำเร็จนั้น เราสรุปได้ว่าเพื่อที่จะประสบความสำเร็จในการทำ e-learning ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวหรือแนวทางแบบเดียวกับสำหรับผู้เรียนทุกคน การเรียนรู้ต้องมีนำไปประยุกต์ใช้กับการให้บริการการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลและจำเป็นต้องสนับสนุนการเรียนรู้ตามการตั้งค่าที่ผู้เรียนเลือก

  15. 1.งานวิจัยนี้เกี่ยวข้องกับ IS ของเรายังไง ใช้งานวิจัยนี้เพื่อทำการสำรวจกลุ่มเป้าหมายก่อนการทำ e-learning 2.ผู้ทำวิจัยมีแรงจูงใจอะไรในการทำวิจัยชิ้นนี้ เจอปัญหาอะไร แล้วสนใจศึกษาในเรื่องอะไร มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาและการสำรวจตามเว็บถูกนำมาใช้เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่ e - learning ผู้วิจัยใช้เป็นการกำหนดตัวชี้วัดของ e - learning ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพโดยรวม ความคิดและความสนใจเกี่ยวกับ e - learning 3.ผู้ทำวิจัยใช้เทคนิคอะไรในการทำวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิเคราะห์เปรียบเทียบของตัวชี้วัด e - learning ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้

  16. 4.งานวิจัยนี้ค้นพบอะไร4.งานวิจัยนี้ค้นพบอะไร การจะทำ e-learning ที่ประสบความสำเร็จไม่มีเกณฑ์ทั่วไปหรือแนวทางเดียวกันสำหรับผู้เรียนทุกคนสามารถนำมาใช้ แต่การบริการการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลมีความจำเป็นต่อการสนับสนุนผู้เรียนให้ตรงความต้องการของแต่ละคนได้โดยกำหนดจากการตั้งค่าของผู้เรียนเอง 5.งานวิจัยนี้ช่วยงานของเราได้อย่างไร มีแนวทางในการสำรวจกลุ่มเป้าหมาย และกำหนดตัวชี้ก่อนการทำ e-learning 6.ทำไมเราถึงเลือกงานวิจัยนี้ การสำรวจกลุ่มเป้าหมายเพื่อหาตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับงานของตน

More Related