1 / 5

สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( Strategic Route Map : SRM) และ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ รายประเด็นโรค ( Strategic Linkage Model : SLM). สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553.

shika
Download Presentation

สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM)และแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ รายประเด็นโรค (Strategic Linkage Model : SLM) สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553

  2. ผังจุดหมายปลายทาง การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ภายในปี 2563 (ระยะเวลา 10 ปี) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2553

  3. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) งานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553 (ร่วมกับเป้าประสงค์) ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ ชุมชนสามารถผลิต วัสดุ อุปกรณ์ ป้องกันร่างกาย ใช้เองในชุมชน ชุมชน มีและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหา ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินจากโรคฯ ชุมชน สามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคฯ ชุมชนสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีโครงการ แก้ไขปัญหา โรคฯ ของชุมชน ประชาชน อปท. มีบทบาท เป็นแกนหลักในการสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงาน และร่วมการตัดสินใจในชุมชน หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีบทบาทเป็นแกนหลัก สนับสนุนวิชาการ การประสานงาน และ การปฏิบัติ ได้อย่างรวดเร็ว และเหมาะสม หน่วยงานภาครัฐอื่น นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม สนับสนุนการบูรณาการยุทธศาสตร์และมาตรการสู่การปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม อสม. มีบทบาท เป็นแกนนำ ขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในชุมชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร ภาคี มีระบบการจัดสรรทรัพยากรและเครือข่าย ตามมาตรฐาน ที่มีประสิทธิภาพ มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบงานข่าวกรอง ที่ครอบคลุมเครือข่ายและประชาชน มีระบบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการสนับสนุนเครือข่าย ในการจัดรณรงค์ที่มีประสิทธิภาพ จัดการความรู้ สร้างและถ่ายทอดนวัตกรรมให้เครือข่ายทุกระดับ กระบวนการ ข้อมูล สารสนเทศ มีคุณภาพ ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน บุคลากร แกนนำ มีสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่องค์กรกำหนด ทีมงานในองค์กร มีคุณลักษณะทีเอื้อต่อการปฏิบัติงาน และมีระบบแรงจูงใจที่ดี พื้นฐาน

  4. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) งานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553 • ชุมชน มีและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหา • ส่งเสริม การจัดเวทีสมัชชาสุขภาพ • ส่งเสริม การสร้างและใช้มาตรการ เพื่อควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในชุมชน • ส่งเสริมการสร้างและใช้มาตรการเพี่อการสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องในชุมชน • ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินจากโรคฯ • ส่งเสริม ศักยภาพแกนนำ ในการเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในชุมชน • ส่งเสริม การมีส่วนร่วมการเตรียมความพร้อมและจัดการภาวะฉุกเฉินจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในชุมชน • ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ จัดการภาวะฉุกเฉินจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ ในชุมชน • ชุมชน สามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคฯ • ส่งเสริม สนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ • พัฒนา ระบบการติดตามประเมินผลเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ • ส่งเสริม การสร้างแกนนำให้สนับสนุนการเฝ้าระวังโรค • ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ • ส่งเสริม การสร้างนโยบายสาธารณะในการจัดสุขภาพที่ดีครอบคลุมและเหมาะสม • ปลูกฝังจิตสำนึกการดูแลสุขภาพและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพอย่างที่ดี • เสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ในการดูแลสุขภาพที่ดีและเหมาะสม • ประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง • ส่งเสริม นโยบายสาธารณะในการสร้างสุขภาพ • พัฒนาความรู้ทักษะในการดูแลสุขภาพ • ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการสุขภาพ • ชุมชนมีโครงการ แก้ไขปัญหา โรคฯ ของชุมชน • พัฒนา ศักยภาพแกนนำ ในการปรับใช้ยุทธศาสตร์งานโรคติดต่ออุบัติใหม่ • พัฒนา ศักยภาพการจัดทำแผนงาน/โครงการของชุมชนในโรคติดต่ออุบัติใหม่ • ส่งเสริม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนงาน/โครงการ • ชุมชนสามารถผลิต วัสดุ อุปกรณ์ ป้องกันร่างกาย ใช้เองในชุมชน • ส่งเสริม การผลิตวัสดุอุปกรณ์ป้องกันร่างกายใช้เองในชุมชน • ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้การผลิตวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันร่างกายใช้เองในชุมชน • ส่งเสริม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การผลิตวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันร่างกายใช้เอง ในชุมชน • ชุมชนสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ • ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพของชุมชน • ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น • ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชน • อปท. มีบทบาท เป็นแกนหลักในการสนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงาน และร่วมการตัดสินใจในชุมชน • ส่งเสริม การจัดทำแผนงานโครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรในชุมชน • สร้างเครือข่ายความร่วมมือการประสานงานด้านวิชาการและการจัดการทรัพยากร • พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรและกองทุนสุขภาพตำบลที่มีประสิทธิภาพ • พัฒนา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการทางสังคมในชุมชน • หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีบทบาทเป็นแกนหลัก สนับสนุนวิชาการ การประสานงาน และ การปฏิบัติ ได้อย่างรวดเร็ว และเหมาะสม • สนับสนุนวิชาการในงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ • พัฒนามาตรการแนวทางที่เอื้อต่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ • หน่วยงานภาครัฐอื่น นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม สนับสนุนการบูรณาการยุทธศาสตร์และมาตรการสู่การปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม • สนับสนุนการจัดทำแผนงานหรือข้อตกลงระหว่างองค์กรเครือข่ายสุขภาพทั้งในและระหว่างประเทศ • ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ • พัฒนากฎ ระเบียบข้อบังคับ มาตรการแนวทางที่เอื้อต่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อสม. มีบทบาทเป็นแกนนำ ขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในชุมชน • พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ • สร้างแรงจูงใจการมีส่วนร่วมสนับสนุนงานชุมชน • ส่งเสริมความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพชุมชน • รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร • ส่งเสริม การใช้ยุทธศาสตร์งานโรคติดต่ออุบัติใหม่ในการจัดการทรัพยากร • ส่งเสริมความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างรัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ • สนับสนุนวิชาการเทคโนโลยี สารสนเทศในงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ทีมีประสิทธิภาพ ภาคี • จัดการความรู้ สร้างและถ่ายทอดนวัตกรรมให้เครือข่ายทุกระดับ • ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างและถ่ายทอดนวัตกรรม • พัฒนา ศูนย์การเรียนรู้ การถ่ายทอดนวัตกรรม • สร้างและพัฒนามาตรฐาน คู่มือ แนวทางและจัดการบัญชีนวัตกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ • มีระบบการสนับสนุนเครือข่าย ในการจัดรณรงค์ที่มีประสิทธิภาพ • พัฒนา สื่อต้นแบบการรณรงค์โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่มีประสิทธิภาพ • พัฒนา รูปแบบการจัดการรณรงค์เพื่อจูงใจให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในโรคิดต่ออุบิติใหม่ • มีระบบการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ • สร้างและพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลคุณภาพการเตรียมพร้อมโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริม มาตรการและกระบวนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมการสร้างมาตรการจูงใจที่เชื่อมโยงกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบงานข่าวกรอง ที่ครอบคลุมเครือข่ายและประชาชน • ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร • พัฒนาช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมเครือข่ายและประชาชน • พัฒนาระบบการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ • มีระบบการจัดสรรทรัพยากรและเครือข่ายตามมาตรฐาน ที่มีประสิทธิภาพ • พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน ของการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริม กระบวนการกระจายไปยังสถานพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมมาตรการและกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากร ที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ • บุคลากร แกนนำ มีสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่องค์กรกำหนด • พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ • สร้างเสริม ความรู้ ประสบการณ์ และฝึกทักษะ • - การเป็นวิทยากร ,การจัดการเครือข่าย • - การสื่อสาร, การบริหารจัดการ ทรัพยากรและกระบวนการ • - การประเมินผล • พัฒนาสมรรถนะหลัก ตามค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร • ข้อมูล สารสนเทศ มีคุณภาพ ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง • และเป็นปัจจุบัน • พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ ด้านการจัดการข้อมูลและระบบสารสนเทศ • พัฒนาฐานข้อมูล ให้สามารถสืบค้นได้ง่าย ถูกต้องครอบคลุมและเป็นปัจจุบัน • พัฒนาศูนย์รวมข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศขององค์กร • ทีมงานในองค์กรมีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน และมีระบบแรงจูงใจที่ดี • สนับสนุนให้มีหน่วยประสานงานเครือข่ายและองค์กรทุกระดับ • ส่งเสริมการสร้างสมรรถนะหลัก แรงจูงใจ ตามค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร • สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีมและความผาสุกในการปฏิบัติงาน พื้นฐาน

  5. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) งานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2553 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชน โดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ประชาชน ชุมชน สามารถเฝ้าระวังและเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉิน อปท. เป็นแกนหลักสนับสนุนร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนการดำเนินงานและร่วมตัดสินใจ กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่ มีส่วนร่วม หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบข้อมูลสารสนเทศ งานข่าวกรอง มีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ และเป็นจริง พื้นฐาน บุคลากร มีสมรรถนะที่เหมาะสม

More Related