1 / 11

Basic Life support

Basic Life support CPR ( Cardiopulmonary resuscitation ) หมายถึง ปฏิบัติการช่วยชีวิตผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน เมื่อผู้ป่วยหยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้นจากสาเหตุต่างๆ ทำให้ร่างกายสามารถนำออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญได้ในเบื้องต้น CPR สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ

Audrey
Download Presentation

Basic Life support

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Basic Life support • CPR ( Cardiopulmonary resuscitation ) • หมายถึง ปฏิบัติการช่วยชีวิตผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน เมื่อผู้ป่วยหยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้นจากสาเหตุต่างๆ ทำให้ร่างกายสามารถนำออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญได้ในเบื้องต้น

  2. CPR สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ • 1 Basiclife support(BLS)คือ วิธีการช่วยชีวิตผู้ป่วยขั้นพื้นฐานโดยไม่มีเครื่องมือหรือยามาเกี่ยวข้อง • 2 Advanced cardiac life support ( ACLS )คือ วิธีการช่วยชีวิตผู้ป่วยขั้นสูง โดยมีเครื่องมือและยามาเกี่ยวข้อง

  3. วัตถุประสงค์ของการ CPR • การทำให้มีการกลับคืนของชีพจรใหม่ โดยหัวใจสูบฉีดโลหิตได้เอง • ป้องกันภาวะขาดอากาศขณะ CPR โดยเฉพาะสมอง

  4. เด็ก ***สาเหตุ ภาวะหายใจล้มเหลว ***EKG Asystole ผู้ใหญ่ โรคของหัวใจ VF ระบาดวิทยา ปฏิบัติการช่วยชีวิตผู้ป่วยเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่มาก (กฤตย์วิกรม ตุรงค์พิสิษฏ์กุล 2543 . )

  5. จะทำ CPR เมื่อไร? • ผู้ป่วยมีภาวะ BradycadiaPediatric HR< 60 bpm หรือ InfantHR< 80bpm และมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ) ร่วมกับ Poor Perfusion , Hypotension และ Respiratory Difficulty ( Current Concepts GuidelinesCPR 2000) • ผู้ป่วยมีภาวะ หยุดหายใจและ/หรือหัวใจหยุดเต้น

  6. ขั้นตอนของการทำ PBLS • 1 .ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยโดย การเขย่าตัวและเรียก • 2. Air Way เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง มี 2วิธี ดังนี้ • Head Tilt – Chin Lift Maneuverกดหน้าผาก-เชยคาง เหมาะสำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่มี C- Spine injury • Jaw Thrust โดยยกขากรรไกร เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่สงสัยมี C- Spine injury • 3 Breathing ประเมินการหายใจนาน 5-10 วินาที ให้ช่วยหายใจ 2 ครั้ง (1-1.5 วินาที/ครั้ง)

  7. 4 Circulation ประเมินชีพจรนาน 6 วินาที ถ้าพบ Bradycadia Pediatric HR<60 bpm หรือ InfantHR<80bpm และมีแนวโน้มลดลง เรื่อยๆ ร่วมกับมี Poor Perfusion , Hypotension และ Respiratory difficulty หรือไม่มีชีพจร • 5 ให้ช่วยกดหน้าอก ( Cardiac Massage ) 5 ครั้งสลับกับการช่วยหายใจ 1 ครั้ง ครบ 1 นาที • .6 เรียกขอความช่วยเหลือ (หลังให้การช่วยเหลือ CPR ใน 1 นาทีแรกแล้ว ) • .7 ให้ช่วยกดหน้าอก ( Cardiac Massage ) 5 ครั้งสลับกับการช่วยหายใจ 1 ครั้ง จนกว่าผู้ป่วยจะหายใจหรือมีชีพจร

  8. ขั้นตอนของการทำ BLS • 1. ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยโดย การเขย่าตัวและเรียก • 2. เรียกขอความช่วยเหลือ . 3. Air Way เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง มี 2วิธี ดังนี้ • Head Tilt – Chin Lift Maneuverกดหน้าผาก-เชยคาง เหมาะสำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่ไม่มี C- Spine injur • Jaw Thrust โดยยกขากรรไกร เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่สงสัยมี C- Spine injury

  9. 4 Breathing ประเมินการหายใจนาน 5-10 วินาที พบว่า “ไม่หายใจ” ให้ช่วยหายใจ 2 ครั้ง (1-1.5 วินาที/ครั้ง) • 5 Circulation ประเมินชีพจรนาน 5-10 วินาที พบว่า“ไม่มีชีพจร” • 6 ให้ช่วยกดหน้าอก ( Cardiac Massage ) 15 ครั้งสลับกับการช่วยหายใจ 2 ครั้ง ครบ 1 นาที ประมาณ 5 รอบ แล้วประเมินว่ามีชีพจรหรือไม่ • พบว่า “ไม่มีชีพจร” ให้ช่วยกดหน้าอกสลับกับการช่วยหายใจจนกว่าผู้ป่วยจะหายใจหรือมีชีพจร • พบว่า “มีชีพจรแต่ไม่หายใจ” ให้หยุดกดหน้าอกและช่วยหายใจต่อ

  10. สวัสดี ขอบคุณค่ะ

More Related