720 likes | 1.95k Views
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 : ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 : ต้นทุนการกู้ยืม. ขอบเขต. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่ครอบคลุมถึง - ป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติอื่นซึ่งสามารถสร้างขึ้นทดแทนได้ - สัมปทานเหมืองแร่ การสำรวจและการขุดแร่ น้ำมัน
E N D
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 : ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 : ต้นทุนการกู้ยืม
ขอบเขต มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่ครอบคลุมถึง - ป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติอื่นซึ่งสามารถสร้างขึ้นทดแทนได้ - สัมปทานเหมืองแร่ การสำรวจและการขุดแร่ น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติอื่นซึ่งไม่สามารถ สร้างขึ้นทดแทนได้
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ที่มีตัวตนซึ่งเข้าเงื่อนไขทุกข้อต่อไปนี้ • กิจการมีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิต เพื่อใช้ในการจำหน่ายสินค้าหรือให้บริการ เพื่อให้เช่า หรือเพื่อใช้ในการบริหารงาน • คาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบปีบัญชี
การรับรู้รายการ รายการที่เป็นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ต้องรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อเป็นไปตาม เงื่อนไขทุกข้อ ดังต่อไปนี้ • มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์นั้น • สามารถกำหนดราคาทุนของสินทรัพย์ได้อย่างสมเหตุสมผล
การวัดมูลค่าและการได้มาการวัดมูลค่าและการได้มา การได้มาของที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ การซื้อสินทรัพย์ • ซื้อด้วยเงินสด • ซื้อโดยการผ่อนชำระ • ซื้อโดยการออกหุ้น สินทรัพย์ที่ ได้รับบริจาค การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ • สินทรัพย์ที่ไม่คล้ายคลึงกัน • สินทรัพย์ที่คล้ายคลึงกัน สินทรัพย์ที่ ก่อสร้างเอง
การวัดมูลค่าและการได้มาการวัดมูลค่าและการได้มา การวัดมูลค่า การวัดมูลค่าเริ่มแรก การวัดมูลค่าภายหลัง ราคาทุน ราคาทุน หรือ ราคาที่ตีใหม่
การวัดมูลค่าเริ่มแรก มูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ ที่เข้าเกณฑ์การรับรู้รายการ ราคาทุน องค์ประกอบของราคาทุน • ราคาซื้อ • ต้นทุนทางตรงเพื่อให้สินทรัพย์อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน • ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาหรือทำให้สินทรัพย์พร้อมใช้งาน • ต้นทุนการกู้ยืม • ค่าใช้จ่ายในการเริ่มเดินเครื่อง / ในการเตรียมผลิต บันทึกด้วย
การวัดมูลค่าเริ่มแรก : 1.การซื้อสินทรัพย์ ราคาซื้อ+ ค่าภาษี + ภาษีซื้อที่เรียกคืนไม่ได้ + ต้นทุนทางตรงอื่น – ส่วนลดการค้า – ภาษีที่จะได้รับคืน 1.1ซื้อเงินสด 1.2ซื้อโดยผ่อนชำระ • บันทึกด้วยมูลค่าเทียบเท่ากับการซื้อด้วยเงินสด • ผลต่างระหว่างราคาเงินสดและราคาที่ต้องชำระจริงให้ตัดเป็นดอกเบี้ยจ่ายตลอดอายุของการได้สินเชื่อ 1.3ซื้อโดยการออกหุ้น • บันทึกด้วยราคาตลาดของหุ้นที่ออกให้ • หากไม่สามารถหาราคาตลาดของหุ้นได้ ให้ใช้ราคาตลาดของสินทรัพย์ที่ได้รับมา
การวัดมูลค่าเริ่มแรก :2.การได้รับบริจาคสินทรัพย์ สินทรัพย์ที่ ได้รับบริจาค • บันทึกสินทรัพย์ที่ได้รับบริจาคด้วยราคายุติธรรมของสินทรัพย์ • บันทึกรายได้จากการรับบริจาคในงวดที่ได้รับสินทรัพย์
การวัดมูลค่าเริ่มแรก : 3.การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ * BVของสินทรัพย์ที่โอนให้ไป ต้องไม่สูงกว่า FVของสินทรัพย์ที่ได้มา * ไม่รับรู้กำไรหรือขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน 3.1การแลกเปลี่ยน สินทรัพย์คล้ายคลึงกัน บันทึกด้วย BVของสินทรัพย์ที่โอนให้ไป • สินทรัพย์ที่คล้ายคลึงกัน คือ - มีประโยชน์ใช้สอยแบบ เดียวกันในธุรกิจชนิดเดียวกัน - มี FVใกล้เคียงกัน
การวัดมูลค่าเริ่มแรก : 3.การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ 3.2การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ ที่ไม่คล้ายคลึงกัน บันทึกด้วย FVของสินทรัพย์ที่ได้รับ = FV สินทรัพย์ที่นำไปแลก + เงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดที่กิจการโอน หรือได้รับโอนในการแลกเปลี่ยน *รับรู้กำไรหรือขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนทันที
การวัดมูลค่าเริ่มแรก : 4.การสร้างสินทรัพย์เอง ต้นทุนของสินทรัพย์ ที่สร้างขึ้นเอง • ค่าวัตถุดิบทางตรง • ค่าแรงงานทางตรง • ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกิดขึ้นจากการก่อสร้าง • ต้นทุนการกู้ยืม ( TAS 33)
ต้นทุนการกู้ยืม (TAS#33) ต้นทุนการกู้ยืม หมายถึง ดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมของกิจการ เช่น • ดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และจากเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวรวมทั้งภาษีที่เกี่ยวข้องกับดอกเบี้ยดังกล่าวที่ผู้กู้ต้องรับภาระ • จำนวนที่ตัดบัญชีของส่วนลดหรือส่วนเกินที่เกี่ยวกับการกู้ยืม • จำนวนที่ตัดบัญชีของรายจ่ายที่เกี่ยวกับการจัดการกู้ยืม • ค่าใช้จ่ายทางการเงินที่เกิดจากสัญญาเช่าทางการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี เรื่อง การบัญชีสำหรับสัญญาเช่าระยะยาว • ผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกู้และดอกเบี้ยที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
การรับรู้ต้นทุนการกู้ยืมการรับรู้ต้นทุนการกู้ยืม แนวทางที่อาจ เลือกปฏิบัติ แนวทางที่กำหนด ให้ถือปฏิบัติ • เป็นค่าใช้จ่าย • ในงวดบัญชีที่ค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น เป็นราคาทุนของสินทรัพย์ หากต้นทุนนั้นเกี่ยวข้องโดยตรงกับ การได้มา การก่อสร้าง หรือผลิต “สินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข”
Qualifying Assets ลักษณะของสินทรัพย์ ที่เข้าเงื่อนไข ทั้งนี้ไม่รวมถึง • เงินลงทุนอื่น • สินค้าที่ทำการผลิตเป็นประจำ สินค้าที่ผลิตเป็นจำนวนมาก โดยมีขั้นตอนการผลิตซ้ำ ๆ ในช่วงระยะเวลาสั้น • สินทรัพย์ที่อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์หรือพร้อมที่จะ ขายทันทีที่ซื้อ • ใช้ระยะเวลานานในการเตรียมพร้อมก่อนนำไปใช้หรือนำไปขาย
Capitalization period (1/2) • เมื่อเข้าเกณฑ์ทุกข้อ ต่อไปนี้ • รายจ่ายที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ได้เกิดขึ้น • ต้นทุนการกู้ยืมได้เกิดขึ้น • สินทรัพย์อยู่ระหว่างการดำเนินการที่จำเป็นในการเตรียมสินทรัพย์ให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ตามประสงค์หรือจะขาย การเริ่มต้นการรวมต้นทุนการ กู้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ การหยุดพักการรวมต้นทุนการ กู้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ ต้องหยุดพักในระหว่างที่การดำเนินการพัฒนา สินทรัพย์หยุดชะงักลงเป็นเวลาต่อเนื่อง
Capitalization period (2/2) • การดำเนินการส่วนใหญ่ที่จำเป็นในการเตรียมสินทรัพย์ให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้หรือพร้อมที่จะขายได้เสร็จสิ้นลง • ในกรณีที่สินทรัพย์สร้างเสร็จเป็นบางส่วนและสามารถใช้งานได้ขณะที่สินทรัพย์ส่วนอื่นยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้างให้หยุดรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ส่วนที่สร้างเสร็จหากการดำเนินการส่วนใหญ่ที่จำเป็นในการเตรียมสินทรัพย์บางส่วนให้พร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์หรือพร้อมที่จะขายของสินทรัพย์ส่วนนั้นเสร็จสิ้นลง การสิ้นสุดการรวมต้นทุนการ กู้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์
สามารถรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุนของที่ดินได้ สามารถรวมต้นทุนการกู้ยืมเป็นราคาทุนของที่ดินได้ ตั้งแต่วันที่ 7 เม.ย.41 ถึง 30 เม.ย.41 ตัวอย่าง บริษัทแห่งหนึ่งมีการดำเนินการเกี่ยวกับที่ดิน ดังนี้ 1 ม.ค.41 ทำสัญญาซื้อที่ดินเพื่อจัดสรรขาย โดยวางมัดจำ 500,000 บาท กำหนดจ่ายเงิน วันที่ 1 มี.ค.41 2 ม.ค.41 กู้เงิน 10 ลบ. มีค่าใช้จ่ายในการกู้ยืม 300,000 บาท 1 มี.ค.41 เบิกเงินกู้จากธนาคารเพื่อนำเงินไปจ่ายค่าที่ดิน และเริ่มจ่ายดอกเบี้ย 7 เม.ย.41 ทำการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินเพื่อปรับพื้นที่ 30 เม.ย.41 รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างเสร็จแต่ยังมิได้ปรับพื้นที่ 31 ธ.ค.41 ยังมิได้ปรับพื้นที่ โดยให้เหตุผลว่าเศรษฐกิจยังไม่ อำนวย จึงหยุดพักโครงการไว้ก่อน แต่ยังไม่ล้มเลิก
สามารถรวมเป็นต้นทุนการกู้ยืมได้สามารถรวมเป็นต้นทุนการกู้ยืมได้ ทั้งจำนวน Amount to capitalize (1/2) เงินที่กู้มาโดยเฉพาะเพื่อ การจัดหาสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รายได้ที่เกิดจากการนำ เงินกู้ดังกล่าวไปลงทุน เป็นการชั่วคราว ต้นทุนการกู้ยืมที่ เกิดขึ้นจริงระหว่างงวด ต้นทุนการกู้ยืม =
Amount to capitalize (2/2) เงินที่กู้มาเพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป และได้นำมาใช้จัดหาสินทรัพย์ที่ เข้าเงื่อนไข จำนวนต้นทุนการกู้ยืมที่รวมเป็น ราคาทุนของสินทรัพย์ในงวดนั้นต้อง ไม่เกินจำนวนต้นทุนการกู้ยืมทั้งสิ้น ที่เกิดขึ้นในงวดเดียวกัน อัตราการตั้งขึ้น เป็นทุนของสินทรัพย์ ต้นทุนการกู้ยืม = รายจ่ายของสินทรัพย์ X อัตราถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของต้นทุนการกู้ยืมในระหว่างงวดที่ ไม่รวมต้นทุนการกู้ยืมของเงินที่กู้มาโดยเฉพาะ
ตัวอย่าง การคำนวณต้นทุนการกู้ยืมจากเงินกู้ที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อการจัดหา QA บริษัททำสัญญากู้ยืมเงิน 20 ล้านบาท เพื่อการก่อสร้างโรงงานแห่งใหม่ อัตราดอกเบี้ย 12 % ต่อปี การก่อสร้างเริ่ม ณ วันที่ 1 มิ.ย.41 โดยได้รับเงินกู้ 3 งวด ดังนี้ งวดที่ วันที่ได้รับเงินกู้ จำนวนเงินกู้ 1 1 มิ.ย.41 4,000,000 2 1 ก.ย.41 10,000,000 3 1 ธ.ค.41 6,000,000 บริษัทได้ชำระค่าก่อสร้างโรงงานไปบางส่วนแล้วจำนวน 15 ล้านบาท และนำเงินกู้ส่วนที่เหลือไปลงทุนชั่วคราวได้รับผลตอบแทนทั้งสิ้น 300,000 บาท
การคำนวณต้นทุนการกู้ยืมรวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ ณ 31 ธ.ค.41 งวดที่ วันที่ได้รับเงินกู้ เงินกู้ ดอกเบี้ยจ่าย 1 1 มิ.ย.41 4,000,000 (4,000,000x12%x7/12) = 280,000 2 1 ก.ย.41 10,000,000 (10,000,000x12%x4/12) = 400,000 3 1 ธ.ค.41 6,000,000 (6,000,000x12%x1/12) = 60,000 รวม 20,000,000 740,000 หัก ผลตอบแทนจากการลงทุนชั่วคราว 300,000 ต้นทุนการกู้ยืมที่รวมเป็นราคาทุนสินทรัพย์ 440,000
ตัวอย่าง การคำนวณต้นทุนการกู้ยืมจากเงินกู้ที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไปแต่นำเงินกู้นั้นมาจัดหา QA บริษัทกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินทุน 3 แหล่งในปี 2541 ดังนี้ 1. เงินกู้ 10 ลบ. อายุ 5 ปี อัตราด/บ 10 % ต่อปี กู้มาเมื่อ 1 ม.ค. 41 2. เงินกู้ 20 ลบ. อายุ 20 ปี อัตราด/บ 8% ต่อปี กู้มาเมื่อ 1 เม.ย. 41 3. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารถัวเฉลี่ย 3 ลบ. อัตรา ด/บ ผันแปร และมี ด/บ ทั้งสิ้น 450,000 บาท บริษัทมีราคาตามบัญชีของ QA ดังนี้ ยอดต้นงวด - 1 ม.ค. 40 0 บาท เพิ่มระหว่างงวด 6,000,000 บาท (รวมต้นทุนการกู้ยืม700,000 บาท) ยอดต้นงวด - 1 ม.ค. 41 6,000,000 บาท เพิ่มระหว่างงวด 16,000,000 บาท ยอดปลายงวด - 31 ธ.ค.41 22,000,000 บาท
อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนและต้นทุนการกู้ยืม คำนวณดังนี้ อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุน = [2,650,000/33,000,000]*100 = 8.03% ต้นทุนการกู้ยืมคำนวณจากรายจ่ายโดยประมาณ = 14,000,000 * 8.03% = 1,124,200 เงินต้นดอกเบี้ย เงินกู้ อายุ 5 ปี 10,000,000 (10,000,000x10%) = 1,000,000 เงินกู้ อายุ 20 ปี 20,000,000 (20,000,000x8%x9/12) = 1,200,000 O/D 3,000,000450,000 รวมทั้งสิ้น 33,000,0002,650,000 รายจ่ายโดยประมาณที่เชื่อถือได้ = 6,000,000 + 22,000,000 2 = 14,000,000 ต้นทุนการกู้ยืมจำนวน 1,124,200 นำมารวมเป็นราคาทุนของ สินทรัพย์ได้ทั้งจำนวน เนื่องจากมีจำนวนน้อยกว่าต้นทุนการกู้ยืม ที่เกิดขึ้นจริงจำนวน 2,650,000
การเปิดเผยข้อมูล • กิจการต้องเปิดเผยถึงข้อมูลดังต่อไปนี้ • นโยบายการบัญชีที่ใช้สำหรับต้นทุนการกู้ยืม • จำนวนต้นทุนการกู้ยืมที่รวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ในระหว่างงวด • อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนที่ใช้คำนวณต้นทุนการกู้ยืม ที่อนุญาตให้รวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์
About the revised IAS 23 : borrowing costs • ปรับปรุง IAS23 ให้มีความคล้ายคลึงกับ หลักปฏิบัติใน US GAAP มากขึ้น • การลดทางเลือกในการปฏิบัติในการรับรู้รายการ “ต้นทุนการกู้ยืม” โดย ยกเลิก แนวทางปฏิบัติที่ให้รับรู้ต้นทุนการกู้ยืมเป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีที่ค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น หากต้นทุนการกู้ยืมนั้นเกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินทรัพย์ที่ต้องใช้ระยะเวลาในการเตรียมพร้อมเพื่อให้สามารถนำสินทรัพย์นั้นมาใช้ได้ตามวัตถุประสงค์หรือนำไปขาย (สินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข) • การปรับปรุงนี้ไม่รวมถึง เงินลงทุนอื่น, สินค้าที่ทำการผลิตเป็นประจำ, สินค้าที่ผลิตเป็นจำนวนมาก โดยมีขั้นตอนการผลิตซ้ำๆ ถึงแม้ว่าจะต้องใช้ระยะเวลาในการเตรียมพร้อมเพื่อให้สามารถนำมาใช้หรือนำไปขายก็ตาม • การปรับปรุง IAS23 นี้ให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป
รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์ รายจ่ายภายหลังของสินทรัพย์ ที่ได้มีการรับรู้รายการแล้ว รายจ่ายภายหลังประเภทอื่น บันทึกเป็นสินทรัพย์ เมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ในอนาคตมากขึ้นกว่าที่เคยประเมินไว้เดิม ให้รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวด ที่เกิดรายการ
ค่าเสื่อมราคา ข้อควรพิจารณาเกี่ยวกับค่าเสื่อมราคา การกำหนดอายุการ ใช้งานของสินทรัพย์ วิธีการคิดค่า เสื่อมราคา มูลค่าเสื่อมสภาพ 1.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2. การชำรุดเสียหาย 3. ความล้าสมัยทางด้านเทคนิค 4. ข้อจำกัดในการใช้สินทรัพย์ 1.วิธีเส้นตรง 2.วิธียอดลดลง 3.วิธีจำนวนผลผลิต =ราคาทุน – ราคาซากที่ประมาณไว้ * ในกรณีที่กิจการตีราคาสินทรัพย์ใหม่กิจการต้องคำนวณค่าเสื่อมราคาจากราคาที่ตีใหม่ การทบทวนวิธีการ คิดค่าเสื่อมราคา การทบทวนอายุการใช้งาน
การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรกการวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรก • แนวทางที่กำหนดให้ปฏิบัติ • แสดงด้วย ราคาทุน หักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์(ถ้ามี) • แนวทางที่อาจเลือกปฏิบัติ • แสดงด้วย ราคาที่ตีใหม่
การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรกการวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรก FVณ วันตี ราคาใหม่ คสส.ที่คำนวณ จากFV Impairment ราคาที่ตีใหม่= - - • ควรกำหนดจากราคาประเมิน โดยผู้ประเมินราคาอิสระ • กิจการต้องตีราคา PP&Eทุกรายการที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกับรายการที่เลือกตีราคาใหม่
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ณ วันที่ตีราคาใหม่กิจการต้องปฏิบัติ ดังนี้ 1.) กิจการต้องปรับค่าเสื่อมราคาสะสมและรับรู้ผลของการตีราคาใหม่ โดย 1.1) ต้องปรับค่าเสื่อมราคาสะสมตามข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้.... ปรับค่าเสื่อมราคาสะสมเป็นสัดส่วนกับการเปลี่ยนแปลงของ “ราคาตามบัญชี”หรือ นำค่าเสื่อมราคาสะสมหักจาก “ราคาตามบัญชี”เพื่อให้ได้ “ราคาตามบัญชีสุทธิ” แล้วนำ “ราคาตามบัญชีสุทธิ” มาปรับให้เป็น “ราคาที่ตีใหม่” การตีราคาใหม่ ประกาศสภาวิชาชีพ 25/2549 ณ วันที่ตีราคาใหม่ เมื่อมีการตีราคาเพิ่มขึ้น ต้องปฏิบัติดังนี้ (ตามเกณฑ์ราคาทุน) • 1.) ปรับปรุงราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ให้มีราคาตาม “ราคาที่ตีใหม่” โดยบันทึกบัญชีที่ตีเพิ่มขึ้นไปยัง “บัญชีสินทรัพย์-ราคาที่ตีเพิ่ม” คู่กับ “บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์เพิ่ม”
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 1.2) การรับรู้ผลของการตีราคาใหม่ ตีราคาเพิ่ม รับรู้เป็น “ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาใหม่” ( หากเคยตีราคาลดลง ส่วนที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหม่รับรู้เป็น “กำไรจากการตีราคาสินทรัพย์” ได้ไม่เกินจำนวนที่เคยรับรู้เป็นขาดทุนในงวดก่อนของรายการนั้น ) ตีราคาลดลง รับรู้เป็น “ ค่าใช้จ่าย” ทันทีในงวดนั้น ( หากเคยตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงค้างอยู่ในส่วนของเจ้าของ ส่วนที่ลดลงต้องนำไปหักออกจาก “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ได้ไม่เกินจำนวนที่เคยตีราคาเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์รายการเดียวกัน ) การตีราคาใหม่ ประกาศสภาวิชาชีพ 25/2549
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 2.) ค่าเสื่อมราคาที่ตัดไปสู่บัญชีกำไรขาดทุนให้คำนวณตาม “ราคาที่ตีใหม่” 3.) และส่วนเกินทุนจากการที่ตีราคาสินทรัพย์ที่อยู่ในส่วนของเจ้าของ ต้องโอนไปยัง “กำไรสะสม” โดยตรง ต้องไม่ทำผ่านงบกำไรขาดทุน (ย่อหน้าที่ 38) 4.) ให้เปิดเผยข้อมูลตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ย่อหน้าที่ 63) การตีราคาใหม่ ประกาศสภาวิชาชีพ 25/2549 • 2.) ค่าเสื่อมราคาที่ตัดไปสู่บัญชีกำไรขาดทุนให้คำนวณตาม “ราคาทุน” • 3.) และค่าเสื่อมราคาของส่วนที่ตีราคาเพิ่มขึ้นจากข้อ 2.) ให้ตัดไปสู่บัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเพิ่ม” • 4.) ให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการบันทึกบัญชีที่ใช้ปฏิบัติและผลกระทบต่อ งบกำไรขาดทุน และกำไรต่อหุ้นที่แตกต่างจากวิธีปฏิบัติใน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ย่อหน้าที่ 63)
การด้อยค่าของสินทรัพย์การด้อยค่าของสินทรัพย์ • อ้างอิงถึงมาตรฐานการบัญชี เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ • ทบทวนราคาตามบัญชี และประมาณการมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ • ทบทวนเวลาที่กิจการต้องรับรู้หรือกลับบัญชีขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์
การเลิกใช้และการจำหน่ายสินทรัพย์การเลิกใช้และการจำหน่ายสินทรัพย์ ตัดบัญชี การจำหน่ายสินทรัพย์ การเลิกใช้งานและ ถือไว้เพื่อรอจำหน่าย • จำหน่ายสินทรัพย์นั้น หรือ • เลิกใช้สินทรัพย์นั้นอย่างถาวร หรือ • เมื่อคาดว่าจะไม่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตหลังจากที่จำหน่ายสินทรัพย์ไปแล้ว กำไรขาดทุน = จำนวนเงินสุทธิที่ คาดว่าจะได้รับ - ราคาตามบัญชี - แสดงด้วยราคาตามบัญชี ณ วันที่สินทรัพย์เลิกใช้งาน - ทดสอบการด้อยค่า
การเปิดเผยข้อมูล • เปิดเผยรายการต่อไปนี้ตามประเภทของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ • เกณฑ์การวัดมูลค่าที่ใช้กำหนดราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม • วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา • อายุการใช้งานหรืออัตราค่าเสื่อมราคา ( รวมถึงวิธีการปันส่วนค่าเสื่อมราคาในแต่ละงวดและค่าเสื่อมสะสม ณ วันสิ้นงวด ) • ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันต้นงวดและสิ้นงวด • รายการกระทบยอดของราคาตามบัญชีระหว่างวันต้นงวดและสิ้นงวด
การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) • ต้องเปิดเผยรายการต่อไปนี้ในงบการเงิน • จำนวนและข้อจำกัดในกรรมสิทธิ์ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ใช้เป็นหลักประกันหนี้สิน • นโยบายการบัญชีที่ใช้สำหรับประมาณการรายจ่ายในการบูรณะสถานที่หลังเลิกใช้ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ • จำนวนรายจ่ายทั้งหมดเกี่ยวกับการสร้างอาคาร และอุปกรณ์ • จำนวนภาระผูกผันที่ตกลงไว้เพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) • ต้องเปิดเผยลักษณะและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีที่มีนัยสำคัญ • ราคาซาก • ประมาณการรายจ่ายในการซื้อ ขนย้าย หรือบูรณะสถานที่ภายหลังการเลิกใช้สินทรัพย์ • อายุการใช้งาน • วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา
การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) • ต้องเปิดเผยเมื่อมีการตีราคาใหม่ ดังนี้ • เกณฑ์ที่ใช้ในการตีราคาสินทรัพย์ • วันที่มีการตีราคาสินทรัพย์ใหม่ • การตีราคาใหม่ทำโดยผู้ประเมินราคาอิสระหรือไม่ • ลักษณะของดัชนีที่ใช้กำหนดราคาเปลี่ยนแทน • ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละประเภท (เมื่อเลือกใช้ราคาทุน) • ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ โดยต้องแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของส่วนเกินทุนและข้อจำกัดในการแบ่งปันส่วนเกินทุนให้แก่เจ้าของ
การเปิดเผยข้อมูล (ต่อ) • ต้องเปิดเผยเมื่อมีการด้อยค่าของสินทรัพย์ • เปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน • ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์เป็นการชั่วคราว • ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ซึ่งหักค่าเสื่อมราคาทั้งจำนวนแล้วแต่ยังคงใช้งานอยู่ • ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ ซึ่งเลิกใช้งานและถือไว้เพื่อรอจำหน่าย • มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หากมูลค่าดังกล่าวแตกต่างจากราคาตามบัญชีอย่างมีนัยสำคัญ
IAS 16 หลักการรับรู้รายการโดยทั่วไป 1. ต้นทุนเริ่มแรกเพื่อให้ได้มาหรือก่อสร้าง 2.ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังเมื่อมีการต่อเติม การเปลี่ยนแทนส่วนประกอบต่าง ๆ หรือการบำรุงรักษาสินทรัพย์ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32กับ IAS 16(ปี 2003) การรับรู้รายการ : ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลัง TAS 32 รับรู้มูลค่าต้นทุนด้วย 2หลักการคือ 1. มูลค่าเริ่มแรก (Initial Cost) 2.มูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรก (Subsequent Expenditure)
IAS 16 1. ภาระผูกพันของกิจการที่เกิดจากการติดตั้งสินทรัพย์ 2.ภาระผูกพันของกิจการที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อวัตถุประสงค์อื่นนอกเหนือจากการผลิตสินค้า การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32กับ IAS 16(ปี 2003) การวัดมูลค่าเริ่มแรก :ต้นทุนการรื้อถอนสินทรัพย์ต้นทุนการเคลื่อนย้าย และ ต้นทุนในการทำให้สินทรัพย์อยู่ในสภาพปกติรวมถึง TAS 32 1. ภาระผูกพันของกิจการที่เกิดจากการติดตั้งสินทรัพย์
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32กับ IAS 16(ปี 2003) IAS 16 วัดมูลค่าสินทรัพย์ที่ได้มาด้วยมูลค่า ยุติธรรม เว้นแต่ กรณีที่การแลกเปลี่ยนนั้น ไม่มีเนื้อหาเชิงพาณิชย์ (การแลกเปลี่ยนเกิดกับรายการสินทรัพย์ ที่เป็นตัวเงินหรือแลกเปลี่ยนกับทั้งรายการ สินทรัพย์ที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน) การวัดมูลค่าเริ่มแรก : การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ TAS 32 วัดมูลค่าสินทรัพย์ที่ได้มาด้วยมูลค่า ยุติธรรม เว้นแต่ กรณีที่สินทรัพย์ที่ แลกเปลี่ยนเป็นสินทรัพย์ที่คล้ายคลึงกัน
IAS 16 กิจการอาจแสดงรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ด้วยราคาที่ตีใหม่ หากสินทรัพย์นั้นสามารถวัดมูลค่า ยุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32กับ IAS 16(ปี 2003) การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรก : การตีราคาใหม่ TAS 32 การใช้วิธีการตีราคาใหม่ไม่ได้ ระบุว่าขึ้นอยู่กับการที่มูลค่ายุติธรรม สามารถวัดค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32 กับ IAS 16 (ปี 2003) ค่าเสื่อมราคา : หน่วยวัดมูลค่า IAS 16 กิจการต้องคิดค่าเสื่อมราคาที่เป็น ส่วนประกอบของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ แต่ละส่วนที่มี นัยสำคัญแยกต่างหากจากกัน TAS 32 ไม่ได้ระบุไว้อย่างชัดเจน
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32 กับ IAS 16 (ปี 2003) ค่าเสื่อมราคา : มูลค่าของค่าเสื่อมราคา IAS 16 การคำนวณมูลค่าคงเหลือควร พิจารณาถึงจำนวนที่คาดว่าจะได้รับ ในปัจจุบันจากการประมาณอายุการ ใช้งานของสินทรัพย์ตั้งแต่พร้อม ใช้งานตลอดจนสิ้นสุดอายุการใช้งาน TAS 32 ไม่ได้ระบุไว้อย่างชัดเจน
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32 กับ IAS 16 (ปี 2003) ค่าเสื่อมราคา : ระยะเวลาในการคำนวณค่าเสื่อมราคา IAS 16 เริ่มคิดค่าเสื่อมราคาเมื่อสินทรัพย์ นั้นพร้อมที่จะใช้งาน การสิ้นสุดการ คิดค่าเสื่อมราคาจะเกิดขึ้นเมื่อกิจการ ตัดรายการสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้ต้องคิด ค่าเสื่อมราคาในช่วงที่หยุดใช้งาน สินทรัพย์นั้นด้วย TAS 32 ไม่ระบุการเริ่มต้นในการคำนวณ ค่าเสื่อมราคาและระบุถึงการหยุด คำนวณค่าเสื่อมราคาของแต่ละรายการ เมื่อไม่ได้มีการใช้งานและถือไว้เพื่อ ขาย
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32 กับ IAS 16 (ปี 2003) การตัดจำหน่าย : วันที่ตัดจำหน่าย IAS 16 1.ให้มีการตัดจำหน่ายราคา ตามบัญชีในวันที่มีการขายตาม มาตรฐานการบัญชี เรื่อง การรับรู้ รายได้ TAS 32 1.ไม่ได้ระบุถึงวันที่มีการตัด จำหน่าย
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32 กับ IAS 16 (ปี 2003) การตัดจำหน่าย : วันที่ตัดจำหน่าย IAS 16 2.ให้มีการตัดจำหน่ายราคา ตามบัญชีของส่วนประกอบ(ชิ้นส่วน) ของสินทรัพย์ถ้าส่วนประกอบนั้นมีการ เปลี่ยนแทนรวมทั้งต้นทุนของการ เปลี่ยนแทนนั้นเป็นส่วนหนึ่งของราคา ตามบัญชีของส่วนประกอบ(ชิ้นส่วน) นั้น ๆ TAS 32 2.ไม่มีการขยายหลักการตัด จำหน่ายของแต่ละส่วนประกอบ (ชิ้นส่วน) แต่จะกล่าวถึงรายจ่าย ภายหลังที่ทำให้สินทรัพย์มีสภาพดีขึ้น ให้รวมต้นทุนจากการเปลี่ยนแทนนั้น เป็นราคาตามบัญชี
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญระหว่าง TAS 32 กับ IAS 16 (ปี 2003) การตัดจำหน่าย : วันที่ตัดจำหน่าย IAS 16 3.กิจการต้องไม่จัดประเภทผล กำไรที่เกิดจากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็นรายได้หลัก จากการดำเนินงาน TAS 32 3.ไม่ได้ระบุเงื่อนไขนี้