1 / 43

R2R

R2R. พัฒนางานประจำด้วยการวิจัย. ภูมิ ภักด์ พิทักษ์เขื่อนขันธ์. สำนักบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ชม VDO. เปลี่ยนงานประจำที่จำเจ ให้เป็นงานสนุกที่ท้าทาย ผู้รับบริการพึงพอใจ และประทับใจ. หัวข้อ. การพัฒนาประสิทธิภาพงานประจำด้วยการวิจัย ( R2R ). การวิเคราะห์ข้อเสนอ.

aimon
Download Presentation

R2R

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. R2R พัฒนางานประจำด้วยการวิจัย ภูมิภักด์ พิทักษ์เขื่อนขันธ์ สำนักบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. ชม VDO เปลี่ยนงานประจำที่จำเจ ให้เป็นงานสนุกที่ท้าทาย ผู้รับบริการพึงพอใจ และประทับใจ

  3. หัวข้อ การพัฒนาประสิทธิภาพงานประจำด้วยการวิจัย (R2R) การวิเคราะห์ข้อเสนอ การเขียนข้อเสนอโครงการ

  4. วัตถุประสงค์การฝึกอบรมวัตถุประสงค์การฝึกอบรม เพิ่มความเข้าใจการพัฒนาประสิทธิภาพงานประจำด้วยการวิจัย (R2R) ฝึกวิเคราะห์ข้อเสนอโครงการ ฝึกการเขียนข้อเสนอโครงการ

  5. R2R Slogan : R2R การพัฒนาประสิทธิภาพงานประจำด้วยการวิจัย พัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาองค์กร งานเห็นผล คนเป็นสุข การพัฒนางานที่ทำอยู่เป็นประจำ สู่งานวิจัย สยบงานจำเจด้วยการวิจัย สู่โลกใหม่ของงานประจำ

  6. 3 ประเภทงานวิจัย (แบ่งตามเป้าหมาย) • การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ • การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์กร (วิจัยสถาบัน) หรือ การวิจัยองค์การ • การวิจัยเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพงาน หรือการวิจัยหน้างาน (R to R, R2R – Routine to Research)

  7. ประเภทของงานวิจัยสถาบันประเภทของงานวิจัยสถาบัน • งานวิจัยสถาบัน • มีทั้งระดับคณะและระดับมหาวิทยาลัย • กำหนดหัวข้อ (โดยคณะ หรือ มหาวิทยาลัย) • เปิดให้เสนอข้อเสนอโครงการ (บางหัวข้ออาจต้องจ้างทำ และอาจต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญภายนอก) • งาน R to R • ผู้วิจัยร่วมกับหน่วยงานกำหนดหัวข้อเอง (เครือข่ายร่วมกันคิด) • ผู้วิจัยต้องเป็นคนในหน่วยงาน • ปีต่อไปต้องเปลี่ยนคนทำ ให้ในที่สุดทุกคนสามารถทำได้

  8. เป็นการศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับการดำเนินงาน สภาพแวดล้อม และกระบวนการของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อประโยชน์ในการจัดหาข้อมูลสำหรับสนับสนุนการวางแผน การกำหนดนโยบาย และการตัดสินใจเรื่องต่างๆ โดยการใช้หลักการวิจัย (กระบวนการวิจัย) การวิจัยสถาบัน/องค์กร • (Institutional Research, Administrative Research, Operational Research)

  9. เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการองค์กร และสนับสนุนการตัดสินใจ นำไปใช้ในการวางแผน และการพัฒนาหน่วยงาน & องค์กร การวิจัยสถาบัน/องค์กร • (Institutional Research, Administrative Research, Operational Research)

  10. การพัฒนาประสิทธิภาพงานประจำด้วยการวิจัย (R2R) ความหมายของ R2R กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการอย่าง เป็นระบบของผู้ปฏิบัติงานในการแก้ปัญหา หรือพัฒนางาน โดยมีผลลัพธ์เป็นการพัฒนาตนเองและหน่วยงาน

  11. ความหมายของ R2R ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชกล่าวว่า R 2 R คือ การใช้งานวิจัยเป็นเครื่องมือ ในการทำให้เกิดการสร้างความรู้เพื่อนำมาพัฒนางาน ทำให้คนที่ทำงานประจำมีโอกาสคิด ทดลอง และตั้งโจทย์ให้มีความชัดเจนขึ้น แล้วนำมาทดลองเก็บข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล นั่นคือใช้งานวิจัยมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาขีดความสามารถของคนทำงาน ผลิตผลงานเชิงวิจัยออกมาได้ แล้วป้อนกลับไป หรือนำไปใช้ พัฒนางานประจำให้ดีขึ้น”

  12. ความหมายของ R2R R2Rทำให้ความจำเจของงานประจำหายไป กลายเป็นความท้าทาย ความสนุกที่ได้คิดค้นวิธีการสร้างความรู้เล็กๆ ที่เป็นความรู้ใหม่ๆ ขึ้นมาทำประโยชน์ เกิดความภาคภูมิใจในงานที่ตัวเองทำ หรือจะเรียกว่า เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน (Human Resource Development: HRD) ก็ได้และที่สำคัญคืองานวิจัยประเภทนี้ ทำกันเป็นทีม Team Learning เกิดความสามัคคีได้

  13. สรุปR2R เป็นการวิจัยงานประจำหรือหน้างานนำไปใช้ปรับปรุงหรือพัฒนางานประจํา& ทำต่อเนื่องจนเกิดเป็น R2R2R (Routine to Research to Routine) การพัฒนาประสิทธิภาพงานประจำด้วยการวิจัย(R2R) Routine to Research, R to R, R2R

  14. ความเป็นมาของ R2R • นิยาม R2R โดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช • เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ สร้างความรู้ขึ้นมาพัฒนางานของตัวเอง • เปลี่ยนสถานะจากเดิมเป็นผู้เสพความรู้ เป็นผู้สร้างความรู้

  15. ทำไมต้อง R 2 R ? • R 2 R จะเป็นการเปลี่ยนงานประจำเป็นบรรยากาศการเรียนรู้ทำให้คนรู้มากขึ้น • R 2 R เป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยใน การแสดงความไม่รู้ของคนได้ • R 2 R เป็นการพัฒนา เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานเป็นผู้ผลิต เป็นผู้สร้างความรู้ แทนที่จะเป็นผู้เสพความรู้ และเป็นความรู้ที่ตกผลึกสู่การปฏิบัติงาน

  16. ทำไมต้อง R 2 R ? Routineเป็นอุปสรรคต่องานทั้งปวง • แบ่งงานกันทำเป็นส่วนๆ • เบื่อ: งานถูกลดคุณค่า • เป็นงานที่คนอื่นสั่งให้ทำ • ทำลายความคิดสร้างสรรค์

  17. หลักการและแนวคิด R 2 R (งานเห็นผล คนเป็นสุข) • งานประจำ • ซ้ำซาก จำเจ • ยุ่งยาก ซับซ้อน • น่าเบื่อ ฯลฯ ปรับปรุง / พัฒนา งาน / สิ่งใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อตน เพื่อนร่วมงาน และ องค์กร คิดสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบ + เทคโนโลยี / นวัตกรรม (แปลกใหม่) • ทบทวน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ • กำหนดโจทย์ • วิธีแก้ไข / พัฒนา • ทดลอง / ประเมิน • ปรับปรุง • ใช้งาน / ปรับปรุง • ประเมิน

  18. เป้าหมายของ R2R • บุคลากรสายสนับสนุนมีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการพัฒนางานประจำไปสู่งานวิจัยเพิ่มขึ้นและกระจายอยู่ทุกหน่วยงาน • มีจำนวนผลงาน/นวัตกรรมที่เกิดจาก R2R เพื่อการแก้ปัญหาหรือการปรับปรุงการทำงานขององค์กรเพิ่มขึ้น • มีเครือข่ายบุคลากรด้าน R2R ทั้งในระดับคณะ/ หน่วยงาน และระดับมหาวิทยาลัย

  19. ลักษณะของ R2R • เริ่มจากปัญหา/คำถามวิจัยที่ได้จากหน้างานหรืองานประจำ • มีเป้าหมายชัดเจนว่า จะแก้ไขปัญหา พัฒนา หรือขยายผล • พิสูจน์หาคำตอบด้วยวิธีการที่น่าเชื่อถือ เพื่อใช้ข้อมูลในการตัดสินใจพัฒนาคน พัฒนางาน

  20. ลักษณะของ R2R • ช่วยพัฒนาข้อมูล ฐานข้อมูลให้เกิดประโยชน์ • ยืดหยุ่นในรูปแบบการวิจัย (ไม่มีรูปแบบตายตัว) • เปิดพื้นที่สำหรับแนวคิดใหม่ๆ ในการทำงาน • สร้างเสริมศักยภาพคนทำงาน

  21. ลักษณะของ R2R • สามารถประยุกต์ใช้ให้เข้ากับบริบทของงานได้ • เป็นเครื่องมือที่ช่วยคนทำงานในการสร้างความรู้ และสามารถนำกลับมาช่วยงานประจำได้ • ถ้าผลงานได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ก็จะเป็นผลลัพธ์ที่เพิ่มคุณค่า

  22. องค์ประกอบของ R 2 R • โจทย์วิจัย ต้องมาจากงานประจำ เป็นการแก้ปัญหาหรือพัฒนางานประจำ • ผู้ทำวิจัย ต้องเป็นผู้ทำงานประจำนั้นเอง • ผลลัพธ์ของการวิจัยต้องวัดผลที่เกิดต่อตัวผู้ปฏิบัติ ผู้รับผลงานหรือองค์กร • การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ผลการวิจัยต้องวนกลับไปสร้างคุณค่าให้กับงานได้

  23. ผลลัพธ์ของ R2R • คุณภาพงานเพิ่มขึ้น เช่น การดูแลสวน / อาคารสถานที่ มีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น • คนทำงานประจำเก่งขึ้น (คิดเก่ง+สื่อสารให้คนอื่นฟังดีขึ้น) มีความสุขภาคภูมิใจ และก้าวหน้า • องค์กรบรรลุเป้าหมาย • รายงานผลการวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่

  24. ตัวอย่าง R 2 R • การพัฒนาระบบการเบิกจ่ายและการตรวจสอบบัญชี • คงเหลือพัสดุ ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • การพัฒนาระบบเครื่องแม่ข่ายที่ใช้จัดการเครื่องคอมพิวเตอร์ • ในห้องปฏิบัติการ ภาควิชาคณิตศาสตร์ • มหาวิทยาลัยขอนแก่น • พัฒนากระบวนการรวมศูนย์การจัดหาพัสดุ "โครงการรวม • ซื้อ-กระจายส่ง“ • การพัฒนาระบบการบันทึกปริมาณน้ำเข้าและและน้ำออก • จากร่างกาย

  25. ตัวอย่าง R 2 R • ประดิษฐ์ชุดให้อาหารทางสายยางที่บ้าน • การประดิษฐ์เครื่องขัดไข่ไก่สด • อุปกรณ์ป้องกันโคเตะ • การประดิษฐ์ล้อยางรถจักยานยนต์แบบยางกึ่งลม • อุปกรณ์ลากจูงรถยนต์แบบพกพา • การประดิษฐ์ถังหมักปุ๋ยชีวภาพกึ่งอัตโนมัติ • การประดิษฐ์เปลสนามเคลื่อนที่สำหรับสัตว์ป่วย

  26. ปัจจัยความสำเร็จของ R2R 1. ผู้บริหาร มีวิสัยทัศน์ เป้าหมายและมียุทธศาสตร์ ที่มองเห็นสิ่งที่เป็นความสำเร็จของหน่วยงานหรือองค์กรได้อย่างชัดเจน และสามารถสื่อสารให้คนใน องค์กรรับรู้ได้ทั่วถึง

  27. ปัจจัยความสำเร็จของ R2R 2. หัวหน้างาน ควรช่วยตั้งแต่การตั้งโจทย์ ให้ชัดเจน และแนะนำวิธีการทดลอง เก็บข้อมูลเป็นต้น หากทำไม่ได้ควรมีพี่เลี้ยงหรือทีมพี่เลี้ยง 3. ผู้ทำ R 2 R ควรทำเป็นทีม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ (KM) ไปในตัว

  28. การวิเคราะห์ ข้อเสนอโครงการ การวิเคราะห์ และพัฒนาข้อเสนอโครงการ R 2 R การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยสถาบัน &R2R สำนักบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตุลาคม 2555

  29. การวิเคราะห์โครงการ ใช้หลักการวิเคราะห์จากผลไปสู่เหตุโดยการตั้งคำถาม เพื่อการหาคำตอบ และนำไปเขียน หรือจัดทำเป็นรายละเอียดของโครงการ ดังนี้

  30. การวิเคราะห์โครงการ •  ลักษณะงานของหน่วยงานหรืองานที่รับผิดชอบอยู่ เป็นอยู่ • อย่างไร? มีกระบวนการหรือขั้นตอนในการดำเนินงานหรือ • ให้บริการอย่างไรและกับใคร? และผลการดำเนินงานที่ผ่าน • มาเป็นอย่างไรบ้าง? • มีปัญหาหรือข้อจำกัดใดบ้าง? และอย่างไร? เคยแก้ปัญหา • หรือปรับปรุงหรือไม่ และผลเป็นอย่างไร? • หากไม่ใช่ปัญหาหรือข้อจำกัด มีโอกาสหรือแนวโน้มที่จะทำ • ให้ดีกว่าเดิมอย่างไร?

  31. การวิเคราะห์โครงการ • กรณีที่เป็นปัญหา หากไม่แก้ไข/ปรับปรุง จะส่งผลเสียอย่างไร? • และต่อใคร? กรณีที่ไม่ใช่ปัญหา หากทำแล้วจะส่งผลที่ดีขึ้น • อย่างไร ? • ปัญหา/ศักยภาพที่กล่าวมา มีใครเคยศึกษาและเสนอวิธีการ • ปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาให้ดีกว่าเดิมอย่างไรบ้าง? (การ • ทบทวนผลการศึกษา หรือ การประดิษฐ์คิดค้นของผู้อื่น)

  32. การวิเคราะห์โครงการ • จะมีแนวทางหรือแนวคิดในการแก้ปัญหา/ปรับปรุง/พัฒนา/ปัญหาหรือ • การใช้ศักยภาพเพื่อพัฒนางานของหน่วยงานหรือของตนอย่างไร จึง • จะทำให้แก้ปัญหา/ปรับปรุง/พัฒนาในปัญหาดังกล่าวได้ หรือมีแนวทาง • หรือแนวคิดที่สอดคล้องหรือแตกต่าง หรือต่อยอดจากผลงานของผู้อื่น • อย่างไร? • ดังนั้น โจทย์ที่ต้องการแก้ไข/ปรับปรุง/พัฒนาในปัญหา หรือโอกาสนั้น • เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางหรือแนวคิดที่กำหนดคืออะไร? (โจทย์ที่ • จะนำไปกำหนดวัตถุประสงค์ โดยอาจตั้งเป็นคำถาม เพื่อให้ง่ายต่อการ • นำไปกำหนดวัตถุประสงค์ และปรับเป็นชื่อเรื่อง) •  ทำแล้วจะได้อะไรและเกิดผลดีกว่าที่เป็นอยู่อย่างไร?

  33. การวิเคราะห์โครงการ วัตถุประสงค์ของการวิจัย จะต้องทำอะไรบ้าง จึงจะแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง/พัฒนาตามโจทย์ที่กำหนดได้ ? (2 – 3 ข้อ) เช่น ศึกษา... ออกแบบ... สร้าง... ทดลอง... ประเมิน... เป็นต้น ผลที่จะได้รับ อธิบายเป็นข้อๆว่าการทำวิจัยครั้งนี้ทำแล้วจะได้อะไรบ้างและอย่างไร?(อิงจากวัตถุประสงค์)

  34. การวิเคราะห์โครงการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลจากการวิจัยครั้งนี้จะสามารถนำไปแก้ไขปัญหา ปรับปรุงหรือพัฒนางานของหน่วยงานหรือของตนอย่างไร และใครคือผู้ได้รับประโยชน์

  35. การวิเคราะห์โครงการ กรอบแนวคิดหรือทฤษฎี - ถ้ามี - แสดงกรอบแนวคิด หรือทฤษฎีของการวิจัยให้เห็นความเชื่อมโยงกับปัญหาและโจทย์วิจัย (อธิบายในรูปของแผนภูมิ หรือค้นคว้าทฤษฎีมาอ้างอิงก็ได้)

  36. การวิเคราะห์โครงการ ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครั้งนี้จะดำเนินการโดยมีขอบเขตด้านสาระเนื้อหา ขอบเขตด้านกลุ่มเป้าหมายของการวิจัยหรืออื่นๆ รวมทั้งข้อจำกัด (ถ้ามี) อย่างไร ระยะเวลาและสถานที่ทำวิจัย ระบุเดือนปีที่เริ่มต้น-สิ้นสุด และสถานที่ที่ทำวิจัย

  37. การวิเคราะห์โครงการ วิธีการดำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้จะใช้วิธีการอย่างไร (ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์) แหล่งข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง และการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล และเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล (ถ้ามี) วิธีการดำเนินการวิจัย ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

  38. การวิเคราะห์โครงการ แผนการดำเนินงาน แสดงกิจกรรม (ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์) ช่วงเวลา และผู้รับผิดชอบในรูปของตาราง แผนปฏิบัติการ ในแต่ละกิจกรรมจะมีขั้นตอนหรือมีวิธีการอย่างไร กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มตัวอย่าง จำนวนที่ทำ ตัวชี้วัด ระยะเวลา สถานที่ ค่าใช้จ่ายและผู้รับผิดชอบ โดยควรจัดทำในรูปตาราง

  39. ตัวอย่างตารางแผนปฏิบัติการตัวอย่างตารางแผนปฏิบัติการ

  40. การวิเคราะห์โครงการ • • ค่าใช้จ่าย • นำค่าใช้จ่ายจากวิธีการและแผนงานมารวมเป็นหมวดรายจ่าย ดังนี้ • ค่าตอบแทน (ค่าทำการนอกเวลา) = • ค่าใช้สอย (เช่น จ้างเหมา, ถ่ายเอกสาร เป็นต้น) = • ค่าวัสดุ (อะไรบ้าง) = • 4. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ระบุ) = • รวม =

  41. ฝากไว้ จากท่าน ว.วชิรเมธี "คนสำราญ งานสัมฤทธิ์" ไม่ใช่  "งานสัมฤทธิ์ แต่ชีวิตไม่สำราญ"   "การทำงานประสานกับคุณภาพชีวิต คือผลสัมฤทธิ์ของทางสายกลาง"

  42. ขอบคุณ...และสวัสดี

  43. Thank you! Contact Address: Prof. Somchai Doe Tel: Email: www.kku.ac.th

More Related