1 / 70

A nti-TB drugs ADR management

A nti-TB drugs ADR management . โดย ภญ. อุษณีย์ อึ้งเจริญ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. หลักการให้ยารักษาวัณ โรค. รักษา ด้วยสูตรยามาตรฐานระยะสั้นที่ใช้ในปัจจุบัน เป็น ระบบยาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่ามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดีที่สุดในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้หายได้เกือบร้อยละ 100

aisha
Download Presentation

A nti-TB drugs ADR management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Anti-TB drugsADR management โดย ภญ. อุษณีย์ อึ้งเจริญ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค

  2. หลักการให้ยารักษาวัณโรคหลักการให้ยารักษาวัณโรค • รักษาด้วยสูตรยามาตรฐานระยะสั้นที่ใช้ในปัจจุบัน • เป็นระบบยาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่ามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดีที่สุดในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้หายได้เกือบร้อยละ 100 • ถ้าผู้ป่วยได้รับการดูแลโดยคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 2HRZE / 4HR NTP guildeline Thailand 2013

  3. หลักการให้ยารักษาวัณโรคหลักการให้ยารักษาวัณโรค หลักการให้ยารักษาวัณโรค • 1.ให้ยาถูกต้องทั้งชนิดและจำนวน ทั้ง initial phase/continuation phase • 2.ให้ยาถูกต้องตามขนาด • 3. ระยะเวลาการรักษาเพียงพอตามกำหนด (6 หรือ 8 หรือ 9 เดือน) • 4. ความต่อเนื่องของการรักษา การรักษาวัณโรคภายใต้การกำกับการรักษา (DOT) NTP guildeline Thailand 2013

  4. ยาและสูตรยารักษาวัณโรคยาและสูตรยารักษาวัณโรค • แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ • ยาวัณโรคแนวที่ 1 (First line drugs: FLD) ได้แก่ • ๏ ไอโซไนอะซิด (Isoniazid: H, INH) • ๏ ไรแฟมพิซิน (Rifampicin: R, RMP) • ๏ไพราซินาไมด์ (Pyrazinamide: Z, PZA) • ๏ อีแธมบูทอล (Ethambutol: E, EMB) • ๏ สเตรปโตมัยซิน (Streptomycin: S, Sm) NTP guildeline Thailand 2013

  5. Fixed dose combinations • FDCs เป็นยารวมหลายขนานผสมในเม็ดหนึ่งๆ เช่น HR หรือ HRZ หรือ HRZE การใช้FDCs จะช่วยเพิ่มความสะดวกในการจัด กินยา และหลีกเลี่ยงการเลือกกินยาบางขนานได้ ยารวมเม็ดมีส่วนประกอบของขนาดยาที่เหมาะสม สำหรับผู้ป่วยวัณโรคผู้ใหญ่ ที่มีน้ำหนักตัวระหว่าง 30-70 กิโลกรัม ถ้าผู้ป่วยมีน้ำหนักนอกเหนือจากเกณฑ์นี้ แนะนำให้ใช้ยาแยกเม็ด

  6. ยาและสูตรยารักษาวัณโรคยาและสูตรยารักษาวัณโรค • ยาวัณโรคแนวที่ 2(Second line drugs: SLD) เช่น • Kanamycin: K, Km • Ofloxacine: O, Ofx • Levofloxacin: Lfx • Moxifloxacin:Mfx • Ethionamide: Eto/Prothionamide:Pto • Para-aminosalicylicacid: P, PAS • Cycloserine: Cs • Capreomycin:Cm

  7. สูตรยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคสูตรยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค 2HRZE / 4HR 2HRZES / 1HRZE / 5HRE > 6Km5LfxEtoCs+PAS / >12LfxEtoCs+PAS NTP guildeline Thailand 2013

  8. ยาวัณโรคแนวที่ 1 (First line drugs: FLDs)

  9. กลไกการออกฤทธิ์ของยา

  10. ขนาดยารักษาวัณโรคที่ใช้คำนวณตามน้ำหนักตัวและขนาดยาสูงสุดขนาดยารักษาวัณโรคที่ใช้คำนวณตามน้ำหนักตัวและขนาดยาสูงสุด

  11. Adverse Drug Reaction: ADR • อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา • องค์การอนามัยโลก อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา หมายถึง • "ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจและเป็นอันตรายต่อร่างกายมนุษย์ อันเกิดจากการใช้ยา และเกิดขึ้นเมื่อใช้ยาในขนาดปกติเพื่อ ป้องกัน วินิจฉัย รักษา หรือเปลี่ยนแปลงการทำงานของร่างกาย โดยไม่รวมปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยาเกินขนาด โดยทั้งตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ การใช้ยาในทางที่ผิด หรือการใช้ยาโดยผิดวิธี"

  12. อาการไม่พึงประสงค์จากยารักษาวัณโรคขั้นพื้นฐาน • ผลข้างเคียงที่พบบ่อยจากยารักษาวัณโรค แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ • major side effect ผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งจะต้องหยุดยาทันที ส่งปรึกษาแพทย์ • minor side effect ผลข้างเคียงที่ทำให้ร่างกายมีอาการผิดปกติบ้าง ไม่ต้องหยุดยา ให้การรักษาตามอาการ และอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ NTP guildeline Thailand 2013

  13. NTP guildeline Thailand 2013

  14. NTP guildeline Thailand 2013

  15. CutaneousReaction(ปฏิกิริยาทางผิวหนัง)CutaneousReaction(ปฏิกิริยาทางผิวหนัง) • ยาทุกชนิดเป็นสาเหตุทำให้เกิดปฏิกิริยาทางผิวหนังได้ โดยแบ่งความรุนแรงของอาการออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ • อาการคันที่ไม่มีผื่นหรือมีผื่นแต่ไม่มีอาการตามระบบ • ผื่นผิวหนังที่อาจมีอาการตามระบบ เช่น ไข้ร่วมด้วย • ผื่นผิวหนังรุนแรงมากที่มีการอักเสบของเยื่อบุต่างๆ ร่วมด้วย

  16. 1.อาการคันที่ไม่มีผื่นหรือมีผื่นแต่ไม่มีอาการตามระบบ • มีอาการคัน แต่ไม่มีผื่น ให้ยาanti-histamine (CPM,Atarax)รับประทานยาต่อ ได้ อาการจะค่อยๆดีขึ้น • ถ้ามีผื่นลักษณะคล้ายสิว และอาจคันโดยไม่มีอาการตามระบบ สามารถให้ยาต่อเนื่องได้ เนื่องจากไม่เป็นอันตราย

  17. 2.ผื่นผิวหนังที่อาจมีอาการตามระบบ2.ผื่นผิวหนังที่อาจมีอาการตามระบบ • แต่ไม่มีการหลุดลอกของเยื่อบุอ่อน • ผื่นผิวหนังที่อาจมีอาการตามระบบ เช่น ไข้ร่วมด้วย หยุดยาทุกชนิด ให้ยาanti-histamine และพิจารณาให้ prednisolone ขนาดต่ำ

  18. 3.ผื่นผิวหนังรุนแรงมากโดยมีการอักเสบของเยื่อบุต่างๆ ร่วมด้วย • ผื่นผิวหนังรุนแรงมากที่มีรอยโรคในเยื่อบุต่างๆร่วมด้วย หยุดยาทุกชนิด ให้ systemic steroid ขนาดสูง เช่น prednisolone 40-60 มก.ต่อวัน และค่อยๆ ลดขนาดยาลงตามการตอบสนอง กรณีนี้ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อวางแผนการรักษา • ในระหว่างที่มีการหยุดยา ถ้าวัณโรคยังอยู่ในระยะรุนแรง ให้เลือกยาสำรองกลุ่มอื่นไปก่อน Warning!!! กรณี SJS and TEN ไม่ควร rechallengeยา

  19. SJS/TEN • Steven-Johnson Syndrome (SJS) จะมีผื่นตามเยื่อบุมากกว่า 1 แห่งอาการนำก่อนเกิดผื่นผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายไข้หวัดคือมีไข้อ่อนเพลียปวดเมื่อยตามเนื้อตัวปวดข้อ • Toxic Epidermal Necrolysis (TEN หรือ LYELL’S Syndrome)เป็นผื่นแพ้ยาที่พบค่อนข้างน้อยแต่มีความรุนแรงมากที่สุด เพราะอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้อย่างง่ายและรวดเร็ว TENมีความคล้ายคลึงกับ Steven Johnsons syndrome หลายประการ

  20. SJS/TEN • มีอาการแสดงแบ่งได้ 3 ระดับตามความรุนแรงคือ อาการรุนแรงน้อย หรือเรียกว่า Erythema Multiforme(มีอาการ<10%ของพื้นที่ผิวร่างกายทั้งหมด) , • อาการหลัก ( มีอาการ 10-30 % ของพื้นที่ผิวร่างกายทั้งหมด) • และ อาการรุนแรงมาก หรือเรียกว่า Toxic Epidermal Necrolysis (TEN)

  21. อาการและอาการแสดงที่สำคัญของโรคนี้ประกอบด้วย • - อาการเตือน อาจจะมีอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย 2-3 วัน มีผื่นขึ้น มีไข้ ไอ ปวดกล้ามเนื้อ มีน้ำมูก ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน หรือท้องเสีย • - มีผื่นแดงในตอนเริ่มต้น และเปลี่ยนแปลงเป็นผื่นแดงนูน,ตุ่มน้าใส ผื่นที่มีลักษณะจำเพาะจะเป็นเหมือนเป้าธนู โดยตรงกลางเป็นตุ่มน้ำหรือมีสีเข้มหรือมีการตายหลุดลอกของผิวหนัง ล้อมรอบด้วยผื่นแดงเรียบสีแดง • - ผื่นอาจจะกลายเป็นตุ่มน้าขนาดใหญ่(Bullous)และเกิดการแตกออก เหลือผิวหนังที่ไม่มีชั้นหนังกาพร้าปกคลุม เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อแทรกซ้อน • - ผื่นสามารถพบได้ทั่วตัว แต่พบบ่อยบริเวณ Extensor surface ,ฝ่ามือ,ฝ่าเท้า,และหลังมือ

  22. - มีการทำลายหลุดลอกของเยื่อบุต่างๆภายในร่างกาย เช่น ริมฝีปาก, เยื่อบุช่องปาก, อวัยวะเพศ, ตา เป็นต้น • - อาจพบอาการในระบบอื่นๆ เช่น • - ระบบทางเดินหายใจ มีรอยโรคในbrochus, trachea มีอาการหายใจลาบาก ไอ มีเสมหะ • - ระบบหัวใจ มีอาการเจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือ มีการอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ • - ระบบทางเดินอาหาร มีอาการปวดท้อง เลือดออกในทางเดินอาหาร ลาไส้อักเสบ • - ระบบทางเดินปัสสาวะ อาจเกิดท่อไตอักเสบ ไตวาย

  23. SJS/TEN • SJS มีสาเหตุส่วนมากมาจากการแพ้ยา มีรายงานว่ามียาหลายชนิดที่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดอาการได้แก่ • NSAIDs, especially ibuprofen (2003) • Anticonvulsants (phenytoin, valproic acid, phenobarbital, carbamazepine) • Antibiotics (sulphonamides, aminopenicillins, quinolones, cephalosporins, tetracyclines, imidazole antifungal agents (1995) • Allopurinol

  24. Rechallenge

  25. เมื่อผื่นหายดี การพิจารณาให้ยาใหม่ทีละตัว มีแนวทางดังนี้ • เริ่มให้ยา H หรือ R ต่อด้วย E หรือ Z เป็นตัวสุดท้าย • ยาแต่ละชนิด เริ่มจากขนาด 1/3 ถึง 1/2 ของขนาดสูงสุด แล้วเพิ่มจนถึงขนาดสูงสุดใน 2-3 วัน แล้วเริ่มยาตัวถัดไปได้เลย ถ้ายาตัวก่อนหน้านั้นไม่เกิดปัญหา • ถ้าเกิดผื่นขณะได้ยาตัวใด ให้หยุดยาตัวดังกล่าว รอให้ผื่นยุบหมด แล้วเริ่มยาตัวถัดไป และปรับสูตรยาให้เหมาะสม NTP guildeline Thailand 2013

  26. Example of rechallenge Z? R600 R 600 H 300

  27. N/V, Gastric pain and Hepatitis • คลื่นไส้/อาเจียน ปวดท้อง ตับอักเสบ • ยาที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดตับอักเสบได้แก่ H, R และ Z • ส่วนกรณีที่มีเฉพาะค่า bilirubinสูงขึ้นโดยไม่มีความผิดปกติของเอมไซม์aspartate transaminase (AST)หรือ serum glutamic- oxaloacetic transaminase (SGOT)/alanine transaminase (ALT) หรือ serum glutamic- pyruvate transaminase (SGPT) มักเกิดจากยา R

  28. ประสาทตาอักเสบ (Optic neuritis, retrobulbar neuritis) • ยาที่ทำให้เกิดผลข้างเคียงนี้คือ E • โดยมีความสัมพันธ์กับขนาดยาที่ได้รับ • อาการแรกสุดอาจเป็นการมองเห็นสีผิดปกติ • (dyschromatopsia, สีแดง-เขียว หรือน้ำเงิน-เหลือง) • อาการอื่นของประสาทตาอักเสบได้แก่ ตามัว ภาพตรงกลางดำ มืด (central scotoma) มองเห็นภาพไม่ชัดเจนในเวลากลางคืน • ผู้ป่วยมากกว่าร้อยละ 50 หายเป็นปกติหลังจากหยุดยา

  29. คำแนะนำก่อนและระหว่างให้ยาEคำแนะนำก่อนและระหว่างให้ยาE • สอบถามความผิดปกติของการมองเห็นก่อนเริ่มให้ยาทุกราย และทุกครั้งที่มาติดตามการรักษา • เลือกขนาดยา E 15 มก./กก./วัน และ ไม่เกิน 20 มก./กก./วัน • ไม่จำเป็นต้องตรวจการมองเห็นและภาวะตาบอดสีทุกครั้ง • ถ้ามีความผิดปกติในการมองเห็น ให้ตรวจการมองเห็น และภาวะตาบอดสี หยุดยา ปรึกษาจักษุแพทย์ Ishihara test

  30. สูตรยาทดแทน กรณีไม่สามารถใช้ยาบางตัวได้

  31. ยาวัณโรคแนวที่ 2(Second line drugs :SLDs) • สูตรยาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (Empirical MDR regimen) > 6Km5LfxEtoCs+PAS / >12LfxEtoCs+PAS หมายเหตุ: สามารถเปลี่ยนจาก K มาใช้ S ได้ เฉพาะถ้ามีผลยืนยันกลับมาในภายหลังว่าไม่ดื้อยา

  32. ยาวัณโรคแนวที่ 2(Second line drugs: SLD)

  33. ยาและสูตรยารักษาวัณโรคดื้อยายาและสูตรยารักษาวัณโรคดื้อยา • ชื่อยาและขนาดยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา

  34. ชื่อยาและขนาดยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาชื่อยาและขนาดยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา

More Related