130 likes | 534 Views
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555 - 2558. สุธีร วัชร์ เจริญวงศ์ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม. สภาพปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน.
E N D
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555 - 2558 สุธีรวัชร์ เจริญวงศ์ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
สภาพปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชนสภาพปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน • ปัญหาประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจในบทบัญญัติและสาระของกฎหมายตลอดจนสิทธิเสรีภาพที่พึงมีพึงได้โดยชอบธรรม • ปัญหากลไกของกระบวนการและระบบงานยุติธรรมของไทยมีความเข้มงวด เคร่งครัดขึ้นกับบทบัญญัติของกฎหมายวิธีพิจารณาความทั้งทางแพ่ง ทางอาญา และทางคดีปกครอง • ปัญหาประชาชนที่ยากจนและขาดแคลนทุนทรัพย์ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม • ปัญหาความไม่รู้หลักประกัน “ความยุติธรรม” ตามรัฐธรรมนูญ
นโยบายรัฐบาลที่กระทรวงยุติธรรมมีบทบาทสำคัญนโยบายรัฐบาลที่กระทรวงยุติธรรมมีบทบาทสำคัญ นโยบายที่ 1 นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก ข้อที่ 1.2 กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ ข้อที่ 1.3 ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง ข้อที่ 1.5 เร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนกลับมาสู่พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ข้อที่ 1.6 เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและนานาประเทศ นโยบายที่ 8 นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ข้อที่ 8.2 กฎหมายและการยุติธรรม 8.2.1 ปฏิรูประบบกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทั้งระบบให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย เท่าทันต่อ การเปลี่ยนแปลง และสอดคล้องกับหลักนิติธรรม 8.2.2 ปรับปรุงระบบการช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมด้วยมาตรการเชิงรุก 8.2.3 การนำมาตรการทางภาษีและการป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงินมาใช้ในการดำเนินการต่อผู้กระทำผิด ดูแลแก้ไขและฟื้นฟูพัฒนาผู้กระทำความผิดให้เป็นคนดีสามารถกลับสู่สังคมได้ เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน การคุมประพฤติ การบังคับคดีและส่งเสริมความยุติธรรมและความเป็นธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 8.2.4 ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมเชิงรุกโดยประชาชนมีส่วนร่วม จัดให้มีกลไกการบริหารจัดการแบบครบวงจร
นโยบายเน้นหนักของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก) • การจัดตั้งสำนักงานยุติธรรมจังหวัด เพื่อเสริมสร้างการอำนวยความยุติธรรมเชิงรุก และเพิ่มโอกาสการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน • การเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทย โดยการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรง และเหตุการณ์ความไม่สงบทุกเหตุการณ์ • การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร • การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำกระแสพระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักปฏิบัติในทางสันติวิธี • การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งการทุจริตภาครัฐ และการทุจริตภาคเอกชน โดยเฉพาะการทุจริตงบประมาณของรัฐหรือฮั้วการประมูล • การพัฒนากฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม และการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อรองรับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของกระทรวงยุติธรรม (SWOT Analysis)
วิสัยทัศน์กระทรวงยุติธรรมวิสัยทัศน์กระทรวงยุติธรรม “ผู้นำในการบริหารและบูรณาการ งานยุติธรรมเพื่อสังคมที่เป็นธรรม”
พันธกิจกระทรวงยุติธรรมพันธกิจกระทรวงยุติธรรม • บริหารจัดการในการอำนวยความยุติธรรมในสังคมเพื่อให้ประชาชนเข้าถึง ความยุติธรรมอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรม • พัฒนาคุณภาพการดำเนินการตามกฎหมาย พันธะสัญญาระหว่างประเทศและ มาตรฐานในการบริหารงานยุติธรรม อำนวยความยุติธรรมและพัฒนาพฤตินิสัย • ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก • พัฒนากฎหมายและระบบงานยุติธรรม • ส่งเสริมการบูรณาการความร่วมมืองานยุติธรรมกับทุกภาคส่วน • พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูง
ปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชนปัญหาเกี่ยวกับการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน บริบทที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารงานยุติธรรม ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ และภาระหน้าที่ของกระทรวงและร่วมตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำงาน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี กลยุทธที่ 3 สนับสนุนการทำงานแบบบูรณาการ และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน รวมทั้งหน่วยงานระหว่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการป้องกันเชิงรุก (Early Prevention) ของภารกิจกระทรวงยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ ประชาชนถูกหลอกลวง เอารัดเอาเปรียบ ล่วงละเมิดสิทธิ ปัญหาการร้องทุกข์และข้อขัดแย้งต่างๆ ในสังคมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1พัฒนาการอำนวยความยุติธรรม ความไม่สงบและความรุนแรงในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลไกของกระบวนการและระบบงานยุติธรรมของไทยมีความเข้มงวด เคร่งครัดขึ้นกับบทบัญญัติของกฎหมาย กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพบุคลากรให้มีทักษะและความชำนาญตามภารกิจที่เกี่ยวข้องและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลพร้อมรองรับสถานการณ์ในภาวะปกติและไม่ปกติโดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงการพัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและบูรณาการงานของกระทรวงยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ เพื่อให้ประชาชนเข้าใจบทบาทของกระทรวงและขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมทั้งในกระแสหลักและทางเลือกมากขึ้น กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์การของกระทรวงยุติธรรมให้เป็นหนึ่งเดียว กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาบุคลากรและระบบงานกระทรวงยุติธรรมให้มีความพร้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ข้อพิพาททางแพ่งและทางปกครองมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนาและปรับปรุงศักยภาพการบริหารงานยุติธรรม คดีอาญาและผู้ต้องขังยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ประชาชนที่ยากจนและขาดแคลนทุนทรัพย์ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม เด็กและเยาวชนมีแนวโน้มกระทำความผิด และกระทำผิดซ้ำมากยิ่งขึ้น ประชาชนไม่รู้หลักประกัน “ความยุติธรรม” ตามรัฐธรรมนูญ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3เร่งรัดการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างและพัฒนาระบบยุติธรรมชุมชน/ยุติธรรมทางเลือก ให้มีความเข้มแข็งเพื่อเป็นทางเลือกในการอำนวยความยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาการเสริมสร้างความสมานฉันท์ เพื่อสังคมที่สงบสุข กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรการการลงโทษระดับกลาง ปัญหายาเสพติดเริ่มกลับมารุนแรงยิ่งขึ้น
ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรมยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการอำนวยความยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ และภาระหน้าที่ของกระทรวงและร่วมตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำงาน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี กลยุทธที่ 3 สนับสนุนการทำงานแบบบูรณาการ และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน รวมทั้งหน่วยงานระหว่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการป้องกันเชิงรุก (Early Prevention) ของภารกิจกระทรวงยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรมยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพบุคลากรให้มีทักษะและความชำนาญตามภารกิจที่เกี่ยวข้องและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลพร้อมรองรับสถานการณ์ในภาวะปกติและไม่ปกติโดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงการพัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและบูรณาการงานของกระทรวงยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ เพื่อให้ประชาชนเข้าใจบทบาทของกระทรวงและขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมทั้งในกระแสหลักและทางเลือกมากขึ้น กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์การของกระทรวงยุติธรรมให้เป็นหนึ่งเดียว กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาบุคลากรและระบบงานกระทรวงยุติธรรมให้มีความพร้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงศักยภาพการบริหารงานยุติธรรม
ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรมยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างและพัฒนาระบบ ยุติธรรมชุมชน/ยุติธรรมทางเลือก ให้มีความเข้มแข็งเพื่อเป็นทางเลือกในการอำนวยความยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาการเสริมสร้างความสมานฉันท์ เพื่อสังคมที่สงบสุข กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรการการลงโทษระดับกลาง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เร่งรัดการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก
วิสัยทัศน์กระทรวงยุติธรรมวิสัยทัศน์กระทรวงยุติธรรม “ผู้นำในการบริหารและบูรณาการงานยุติธรรมเพื่อสังคมที่เป็นธรรม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1พัฒนาการอำนวยความยุติธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงศักยภาพการบริหารงานยุติธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3เร่งรัดการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างและพัฒนาระบบยุติธรรมชุมชน/ยุติธรรมทางเลือก ให้มีความเข้มแข็งเพื่อเป็นทางเลือกในการอำนวยความยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาการเสริมสร้างความสมานฉันท์ เพื่อสังคมที่สงบสุข กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรการการลงโทษระดับกลาง กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ และภาระหน้าที่ของกระทรวงและร่วมตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำงาน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยี กลยุทธที่ 3 สนับสนุนการทำงานแบบบูรณาการ และประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน รวมทั้งหน่วยงานระหว่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการป้องกันเชิงรุก (Early Prevention) ของภารกิจกระทรวงยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพบุคลากรให้มีทักษะและความชำนาญตามภารกิจที่เกี่ยวข้องและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลพร้อมรองรับสถานการณ์ในภาวะปกติและไม่ปกติโดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงการพัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและบูรณาการงานของกระทรวงยุติธรรม กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ เพื่อให้ประชาชนเข้าใจบทบาทของกระทรวงและขั้นตอนในกระบวนการยุติธรรมทั้งในกระแสหลักและทางเลือกมากขึ้น กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์การของกระทรวงยุติธรรมให้เป็นหนึ่งเดียว กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาบุคลากรและระบบงานกระทรวงยุติธรรมให้มีความพร้อมเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558
จบการนำเสนอ Q & A สุธีรวัชร์ เจริญวงศ์ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ 0 2141 5332 0 81859 7710