260 likes | 450 Views
การประชุมขับเคลื่อนสรุปผลสำเร็จการดำเนินงาน การใช้จ่ายงบประมาณปี 2555 และชี้แจงแผนเงิน แผนงาน โครงการและกิจกรรม ปี 2556. นายวิริยะ แก้วทอง ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยี ชีว ภัณฑ์สัตว์ วันที่ 12-14 กันยายน 2555 ณ ชลพฤกษ์ รี สอร์ท จังหวัดนครนายก. ผลการดำเนินงานด้านการผลิตวัคซีนและการจัดส่งวัคซีน.
E N D
การประชุมขับเคลื่อนสรุปผลสำเร็จการดำเนินงาน การใช้จ่ายงบประมาณปี 2555 และชี้แจงแผนเงิน แผนงาน โครงการและกิจกรรม ปี 2556 นายวิริยะ แก้วทอง ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีชีวภัณฑ์สัตว์ วันที่ 12-14 กันยายน 2555 ณ ชลพฤกษ์ รีสอร์ท จังหวัดนครนายก
ผลการดำเนินงานด้านการผลิตวัคซีนและการจัดส่งวัคซีนผลการดำเนินงานด้านการผลิตวัคซีนและการจัดส่งวัคซีน สรุปผลการปฏิบัติงาน (ตุลาคม 2554 – สิงหาคม 2555)วัคซีนโค-กระบือ หน่วย : ล้านโด๊ส คำย่อ : FMD= โรคปากและเท้าเปื่อยฯ, HS=เฮโมรายิกฯ, BL=แบลคเลก, A=แอนแทรกซ์, BR=บรูเซลโลซิส
สรุปผลการปฏิบัติงาน (ตุลาคม 2554 -สิงหาคม 2555)วัคซีนสุกร หน่วย : ล้านโด๊ส คำย่อ : FMD-PIG= โรคปากและเท้าเปื่อยสุกร, SF=อหิวาต์สุกร
สรุปผลการปฏิบัติงาน (ตุลาคม 2554 -สิงหาคม 2555)วัคซีนสัตว์ปีก หน่วย : ล้านโด๊ส คำย่อ : NDL+IB= นิวคาสเซิล+หลอดลมฯ, NDL=นิวคาสเซิลฯ, IB=หลอดลมอักเสบฯ, X=ฝีดาษไก่, FC=อหิวาต์เป็ด-ไก่, DP=กาฬโรคเป็ด
สรุปผลการปฏิบัติงาน (ตุลาคม 2554 -สิงหาคม 2555)สารทดสอบโรค หน่วย : ซีซี
ผลการจัดส่งวัคซีน • วันที่ 1-7 ของทุกเดือน • วัคซีนที่ส่งตรงรอบ (FMD,Heamo) ถึงพื้นที่ก่อนรอบการใช้วัคซีน หมายเหตุ เดือน มี.ค.55 ปศข. 8,9 ตามแผนการจัดส่งต้องส่งเดือน เม.ย.55 แต่เนื่องจาก ปศข 8,9 มีความต้องการใช้วัคซีนเร่งด่วน ทำให้ต้องเลื่อนแผนการจัดส่งจากต้นเดือน เม.ย.55 เป็นวันที่ 22,23 มี.ค.55 แทน
รวมรายได้จากการจำหน่ายวัคซีนและแอนติเจน(ตุลาคม2554 – สิงหาคม 2555)
รายได้จากการจำหน่ายวัคซีนรายได้จากการจำหน่ายวัคซีน รายได้จากการจำหน่ายวัคซีน (ตุลาคม 2554 - สิงหาคม 2555)วัคซีนโค-กระบือ คำย่อ : FMD= โรคปากและเท้าเปื่อยฯ, HS=เฮโมรายิกฯ, BL=แบลคเลก, A=แอนแทรกซ์, BR=บรูเซลโลซิส
รายได้จากการจำหน่ายวัคซีน (ตุลาคม 2554 - สิงหาคม 2555)วัคซีนสุกร คำย่อ : FMD-PIG= โรคปากและเท้าเปื่อยสุกร, SF=อหิวาต์สุกร
รายได้จากการจำหน่ายวัคซีน (ตุลาคม 2554-สิงหาคม 2555)วัคซีนสัตว์ปีก คำย่อ : NDL+IB= นิวคาสเซิล+หลอดลมฯ, NDL=นิวคาสเซิลฯ, IB=หลอดลมอักเสบฯ, X=ฝีดาษไก่, FC=อหิวาต์เป็ด-ไก่, DP=กาฬโรคเป็ด
รายได้จากการจำหน่ายวัคซีน (ตุลาคม 2554-สิงหาคม 2555)สารทดสอบโรค
ผลการดำเนินงานด้านการเงินผลการดำเนินงานด้านการเงิน (ตุลาคม2554 – สิงหาคม 2555) หน่วย : ล้านบาท
แผนการผลิตและประมาณการรายรับ ปี 2556 หน่วย : บาท
ประมาณการรายจ่าย ปี 2556 หน่วย : บาท
แผนการจัดส่งวัคซีน รอบ 12 เดือน (วันที่จัดส่ง) ปีงบประมาณ 2556
โครงการด้านการพัฒนาชีวภัณฑ์โครงการด้านการพัฒนาชีวภัณฑ์ ของกรมปศุสัตว์
การเปลี่ยนสเตรนของไวรัสแอนติเจนในการผลิตวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อยการเปลี่ยนสเตรนของไวรัสแอนติเจนในการผลิตวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อย 1. วัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อย สำหรับโค-กระบือ แพะ แกะ ชนิด 3 ไทป์ ใช้ไวรัสสเตรน Aสกลนคร แทน A118 ตั้งแต่ชุดที่ T55G ในการรณรงค์ครั้งที่1 ของปีงบประมาณ 2556 2. วัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อย สำหรับสุกร ชนิด 3 ไทป์ ใช้ไวรัสสเตรน Aสกลนคร แทน A118 ตั้งแต่ชุดที่ HT56A เป็นต้นไป
สถานการณ์ปัจจุบันของวัคซีน PRRS มีการเตรียมความพร้อมการผลิตวัคซีน PRRS โดยส่งข้าราชการไปฝึกงานที่สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ และอยู่ระหว่างการปรับปรุงห้องปฏิบัติการใหม่ พร้อมกับเตรียมจัดหาเครื่องมือวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมสำหรับใช้ในการผลิตฯ
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพของวัคซีนแบลคเลกที่ลดปริมาตรฉีดในโค และแพะ (Efficacy of Reduced Dose Volume Blackleg Vaccine in Cattle and Goats) ศึกษาประสิทธิภาพความคุ้มโรคและอายุการเก็บรักษาวัคซีนแบลคเลกที่ลด ปริมาตรฉีด - ในโค จาก 5 มล. เป็น 2 มล. และ - ในแพะ จาก 2 มล. เป็น 1 มล. เพื่อความสะดวกในการฉีดวัคซีน งบประมาณ 990,000 บาท (กันยายน 2553 ถึง กุมภาพันธ์ 2557) แล้วเสร็จ 60 %
โครงการวิจัยเรื่อง ศึกษาการทำไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยให้เข้มข้นด้วยเครื่องกรองไวรัสแบบเส้นใยกลวงชนิด Polysulfoneแบบอัตโนมัติในการคัดกรองที่ขนาดน้ำหนักโมเลกุล 500,000 ดาลตัน และ 100,000 ดาลตัน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกรองไวรัสแบบเส้นใยกลวงชนิด Polysulfone แบบอัตโนมัติ ในการทำให้ไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยเข้มข้น เป็นการลดขั้นตอนกระบวนการผลิตวัคซีน อันจะเป็นการลดระยะเวลาในการผลิตวัคซีนให้สั้นลง เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตวัคซีนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
โครงการวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพของวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อยชนิดมัลติเพิลอิมัลชัน (น้ำในน้ำมันในน้ำ) แบบรวม 3 ไทป์ สำหรับโค วัคซีนที่ผลิตในรูปแบบของอิมัลชันชนิดต่างๆ ให้ความคุ้มโรคดีและนานกว่าชนิดที่ผสมอลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ และซาโปนิน จึงมีการนำมาใช้ในการป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อย ระยะเวลาทำการ 2 ปี 3 เดือน งบประมาณ 7,760,400 บาท ผลที่ได้คือ 1.ได้ตำรับวัคซีนที่มีประสิทธิภาพความคุ้มโรคดี มีความคงตัว และปลอดภัย 2.ให้ความคุ้มโรคนาน และมีอายุการเก็บรักษาไม่น้อยกว่า 1 ปี
โครงการ “การพัฒนาชุดทดสอบ HN-ELISA เพื่อตรวจการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสนิวคาสเซิลในไก่ SPF” สำนักเทคโนโลยีชีวภัณฑ์สัตว์เลี้ยงไก่ปลอดเชื้อเฉพาะ(SPF) เพื่อนำไข่ไก่ฟักและลูกไก่ที่ได้มาใช้ในการผลิตไวรัสวัคซีนสำหรับสัตว์ปีก จะต้องมีการตรวจสอบว่าไก่ปลอดจากเชื้อโรคตามระบุจำนวน 18 โรค การพัฒนาชุดทดสอบ HN-ELISA กรมปศุสัตว์จะมีผลิตภัณฑ์ชุดทดสอบสำหรับตรวจวินิจฉัยโรคนิวคาสเซิลในไก่ SPF ใช้ในห้องปฏิบัติการที่สะดวกง่ายต่อการใช้งานให้ผลการตรวจที่แม่นยำ และสามารถนำไปใช้ในการตรวจภูมิคุ้มกันต่อโรคนิวคาสเซิลในไก่ในพื้นที่ได้ โดยในเดือน ม.ค.56 จะมีชุดตรวจทดสอบโรคสำเร็จรูปของกรมปศุสัตว์ ซึ่งผลิตใช้ภายใน สทช. ก่อน
โครงการเพิ่มกำลังการผลิตวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อยให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP โรงงานผลิตวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อย สามารถผลิตได้ปีละ 31 ล้านโด๊ส ซึ่งความต้องการวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อยมีมากถึงปีละ 45 ล้านโด๊ส จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มกำลังการผลิตวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อยที่มีกำลังการผลิตปีละ 45 ล้านโด๊ส และให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP พร้อมเสนอกรมฯ ลงนามจ้างฯ ในวันที่ 26 กันยายน 2555
การพัฒนาโรงงานผลิตวัคซีนให้ได้มาตรฐาน GMP ทั้งสำนักฯ โครงการจ้างที่ปรึกษาสำรวจ วางแผน ให้คำแนะนำ และจัดทำแผนแม่บทการปรับปรุงโรงงานผลิตวัคซีนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ GMP วงเงิน 28.6 ล้านบาท ในการประชุมคณะกรรมบริหารเงินทุนฯ ครั้งที่ 5/2555 วันที่ 23 กรกฏาคม 2555 เพื่อขออนุมัติวงเงินจ้างที่ปรึกษาฯ มติที่ประชุม ให้ สทช.จัดทำรายละเอียดค่าใช้จ่ายเฉพาะออกแบบแนวคิด(Conceptual design) เพื่อประกอบการขออนุมัติฯ
การแก้ไขระเบียบเงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตวัคซีนจำหน่ายเพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมจำหน่ายวัคซีนในพื้นที่ภูมิภาคการแก้ไขระเบียบเงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตวัคซีนจำหน่ายเพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมจำหน่ายวัคซีนในพื้นที่ภูมิภาค เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบันเงินทุนหมุนเวียนฯ ไม่สามารถจะสนับสนุนการจำหน่ายวัคซีนในพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม ดังนั้น สทช.ได้นำเรื่องการแก้ไขระเบียบเงินทุนหมุนเวียนฯ เพื่อให้สามารถสนับสนุนงบประมาณ การดำเนินกิจกรรมจำหน่ายวัคซีนในพื้นที่ภูมิภาคให้มีความคล่องตัวมากขึ้น พร้อมกับร่างคำสั่งเสนอกรมฯ แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อจัดทำร่างแก้ไขปรับปรุงระเบียบเงินทุนหมุนเวียนฯ ให้วัตถุประสงค์มีความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น เหมาะสมกับสถานการณ์