840 likes | 1.27k Views
แผนยุทธศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 - 2555. ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 - 2555. ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์. ความท้าทายที่สำคัญต่อมหาวิทยาลัย. ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย. การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ. ความท้าทายต่อมหาวิทยาลัย ( ภายนอกและภายนใน ).
E N D
แผนยุทธศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 - 2555
ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 - 2555 ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ ความท้าทายที่สำคัญต่อมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
ความท้าทายต่อมหาวิทยาลัย (ภายนอกและภายนใน) วิสัยทัศน์และ ยุทธศาสตร์จุฬาฯ เมื่อครบ 100 ปี พรบ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 โครงการ ยุทธศาสตร์สำคัญ ที่ต่อเนื่อง นโยบายของ อธิการบดีเสนอต่อ สภามหาวิทยาลัย แผนบริหาร ราชการแผ่นดิน ของรัฐบาล พ.ศ.2551 ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 – 2555 [ร่าง 1] สัมมนาร่วมกับคณบดีและผู้อำนวยการสถาบัน 30 เม.ย. – 2 พ.ค. ที่ ระยอง ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 – 2555 [ร่าง 2]
ระดมความคิด ให้ทุกคนมีส่วนร่วม สายบริหาร และสนับสนุน ณ หอประชุมใหญ่ 6 มิ.ย. 51 กรรมการประจำคณะ/สถาบัน ณ ร.ร.ตะวันนารามาดา 15 พ.ค.51 สภาคณาจารย์ ณ ศูนย์สารนิเทศ 23 พ.ค.5 1 สมาคมนิสิตเก่า ทุกคณะ ณ สมาคมศิษย์เก่า 28 พ.ค.5 1 ตัวแทนนิสิตปัจจุบัน 25 มิ.ย.2551 ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 – 2555 [ร่าง 2] กำหนด KPI และเป้าหมายของแต่ละ KPI สื่อสารและกระจายเป้าหมาย KPI สู่คณะ / สถาบัน ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 – 2555 [ร่าง 3] นำเสนอที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย และถ่ายทอดแผนฯ / KPI /เป้าหมายสู่คณะ สถาบัน วิทยาลัย สำนักวิชา โดยตรง (ลงเยี่ยม) และผ่านช่องทางอื่นๆ เพื่อร่วมกันทำให้ความฝันเป็นจริง
วิสัยทัศน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครบ 100 ปี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้ และแหล่งอ้างอิงของแผ่นดิน เป็นผู้นำทางปัญญา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
พันธกิจของมหาวิทยาลัยพันธกิจของมหาวิทยาลัย 1. บุกเบิกองค์ความรู้ใหม่และบูรณาการองค์ความรู้เพื่อ ประโยชน์ของสังคมไทย 2. สร้างปัญญาและถ่ายโอนองค์ความรู้กับสาธารณะเพื่อช่วย พัฒนาสังคมไทยไปสู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ในประชาคมโลก 3. สร้างบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานใน ระดับนานาชาติและเหมาะสมกับสังคม 4. เสริมสร้างนิสิตให้เป็นบัณฑิตที่สามารถครองตน อย่างมีคุณธรรมและเป็นผู้นำสังคมได้ 5. สืบสานทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านการดำเนินการความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านการดำเนินการ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านปฏิบัติการ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคล ความท้าทายต่อมหาวิทยาลัย
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านการดำเนินการความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านการดำเนินการ 1. การแข่งขันระหว่างมหาวิทยาลัย 2. พลวัตของการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สภาพแวดล้อม และ วัฒนธรรม 3. ปรากฏการณ์โลกาภิวัฒน์ 4. การสร้างทุนทางสังคมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านปฏิบัติการ (1) 1. การปรับระบบการจัดการเพื่อรองรับและใช้โอกาส ของการออกนอกระบบของมหาวิทยาลัย 2. การเพิ่มความคล่องตัว (Agility) ในการปรับตัว ของมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับอนาคต 3. การบูรณาการสหศาสตร์ และการนำศักยภาพที่เป็น เอกลักษณ์ไปสู่การผลิตผลงานทางวิชาการ และ การสร้างบัณฑิต
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านปฏิบัติการ (2) 4. การบูรณาการความเป็นเลิศด้านการวิจัย สู่การเรียน การสอนและการพัฒนานิสิต 5. การใช้และพัฒนาศักยภาพของนิสิต สู่การเป็น ประชากรไทยระดับโลก (The Global-Thai Citizen) 6. การจัดการทรัพย์สินเพื่ออุดหนุนการศึกษาและ กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคลความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคล 1. การสร้างความผูกพันของประชาคมชาวจุฬาฯ (Workforce Engagement) 2. การจัดการและพัฒนาสมรรถนะ (Competency) ของทรัพยากรมนุษย์ 3. การประสานความแตกต่างทางความคิด 4. การสร้างความสัมพันธ์กับศิษย์เก่า
วิสัยทัศน์ 2555 จุฬาฯ เสาหลักของแผ่นดิน (Pillar of the Kingdom)
ผลงานหลักในช่วง 4 ปี (2551 – 2555) • เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับโลก • เป็นปัญญาแห่งแผ่นดิน • เป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการบริหารจัดการที่คล่องตัว กระชับ และรวดเร็ว • เป็นบ้านอันอบอุ่นของคนดีและคนเก่ง
จุฬาฯ เป็นเสาหลักของแผ่นดิน(Pillar of the Kingdom) ระบบบริหารจัดการคล่องตัว บ้านอันอบอุ่นของคนดีและคนเก่ง มหาวิทยาลัย ชั้นนำระดับโลก ปัญญาแห่งแผ่นดิน ก้าวหน้า ยอมรับ เข้มแข็ง มั่นคง เกื้อกูล เป็นสุข
กรอบแนวคิด ของการวางโครงการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์
การนำเสนอแผนยุทธศาสตร์การนำเสนอแผนยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ประมาณการงบประมาณ รายเป้าประสงค์ ของยุทธศาสตร์ ผลผลิตและผลลัพธ์
เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับโลกเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับโลก ยุทธศาสตร์ “ก้าวหน้า”
เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับโลกเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับโลก ยุทธศาสตร์ “ก้าวหน้า” • เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับโลก มีมาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ โดยการผลิตผลงานวิจัยและผลงานวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ และพัฒนาศักยภาพของการผลิตบัณฑิตในหลักสูตรนานาชาติที่มีเอกลักษณ์
อันดับโลกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอันดับโลกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการที่เป็นที่ยอมรับเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ วารสารวิชาการของส่วนงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้รับการยอมรับระดับนานาชาติ (เข้าสู่ฐาน SCOPUS) บัณฑิตจากหลักสูตรนานาชาติที่มีเอกลักษณ์ ผลผลิตและผลลัพธ์ที่สำคัญ
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
ตัวชี้วัดนำ ซึ่งจะใช้ขับเคลื่อนการทำงาน 1.1 จำนวนอาจารย์ชาวต่างชาติ ต่อ อาจารย์ประจำ 1.2 จำนวนนิสิตชาวต่างประเทศ ต่อนิสิตทั้งหมด 1.3 จำนวนหลักสูตรระดับนานาชาติ ที่มีการจัดการเรียน การสอน การวิจัยกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศ 1.4 จำนวนครั้งการจัดประชุมระดับนานาชาติ 1.5 จำนวนคณาจารย์ที่ไปเสนอผลงานหรือเป็นวิทยากร ในที่ประชุมระดับนานาชาติและผลงานได้รับการตีพิมพ์ 1.6 จำนวนนิสิตที่ไปนำเสนอผลงานระดับนานาชาติและผลงานได้รับการตีพิมพ์
ตัวชี้วัดนำ ซึ่งจะใช้ขับเคลื่อนการทำงาน 1.7 จำนวนรางวัลทางวิชาการระดับนานาชาติที่คณาจารย์ และ/หรือนิสิตได้รับ 1.8 จำนวน Post-Doctoral Fellow 1.9 จำนวน Publication ระดับนานาชาติ (ในฐาน SCOPUS) 1.10 จำนวน Citation / Paper 1.11 จำนวนผลงานวิจัย วิชาการที่นำไปใช้ประโยชน์ ต่อสังคม / ประเทศ
Lead Indicators อยู่ระหว่างการทบทวนและวางแผนร่วมกันกับ คณะ วิทยาลัย สถาบัน และสำนักวิชาที่เกี่ยวข้อง
โครงการหลัก 1. โครงการ 'Asian World Educational Gateway' 2. โครงการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ 3. โครงการ Chula International Communications (CIC) 4. โครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชา ที่มีศักยภาพสูง 5. โครงการขับเคลื่อนแผนพัฒนาวิชาการ 100 ปี จุฬาฯ
เป็นปัญญาแห่งแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ “ยอมรับ”
เป็นปัญญาแห่งแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ “ยอมรับ” เป็นปัญญาแห่งแผ่นดิน รับผิดชอบและนำความรู้สู่สังคม ทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น โดยบูรณาการการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การวิจัยและกิจการนิสิตเพื่อผลิตบัณฑิตที่ตอบสนองความต้องการของประเทศ ตลอดจนสร้างและนำเสนอผลงานวิชาการที่สามารถชี้นำการพัฒนาและการแก้ปัญหาของสังคมไทย
หลักสูตรการเรียนการสอน ที่มีบูรณาการของการ เรียนการสอน การวิจัยและกิจการนิสิต เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศ บัณฑิตในระดับปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ผลงานวิชาการที่สามารถนำสู่การพัฒนาแลตอบสนองปัญหาของสังคมไทย ผลผลิตและผลลัพธ์ที่สำคัญ
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
โครงการหลัก 1. โครงการศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ 2. โครงการพัฒนาหลักสูตรเพื่อสร้างเสริมคุณภาพบัณฑิต 3. โครงการส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เชิงบูรณาการของนิสิต 4. โครงการสานสัมพันธ์อาจารย์ - ศิษย์ 5. โครงการดาวจุฬาฯ
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
โครงการหลัก 1. โครงการ Chula International Communications (CIC) [ร่วมกับแผนยุทธศาสตร์ “ก้าวหน้า”] 2. โครงการเผยแพร่สิ่งอันทรงคุณค่าและศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
โครงการหลัก 1. โครงการ CU Gateway สู่สังคมไทย 2. โครงการจุฬาฯ สระบุรี 3. โครงการจัดตั้งวิทยาลัยอาหารและการเกษตร
เป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการบริหารจัดการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการบริหารจัดการ ที่คล่องตัว กระชับและรวดเร็ว ยุทธศาสตร์ “เข้มแข็ง” ยุทธศาสตร์ “มั่นคง”
เป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการบริหารจัดการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการบริหารจัดการ ที่คล่องตัว กระชับและรวดเร็ว ยุทธศาสตร์ “เข้มแข็ง” เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ มีคุณธรรมควบคู่ไปกับความเป็นเลิศทางวิชาการและเสรีภาพทางวิชาการ สืบสานความเป็นไทย ด้วยการบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และบริหารงานโดยบุคลากร มีส่วนร่วม
มีระบบบริหารที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ มีระบบสารสนเทศที่สามารถตอบสนองความต้องการ ของระบบการจัดการและบุคลากร เป็นองค์กรแห่งคุณภาพ ที่ผ่านการรับรองคุณภาพ โดยหน่วยงานภายนอก บุคลากรได้รับความพึงพอใจในการให้บริการของ มหาวิทยาลัย ผลผลิตและผลลัพธ์ที่สำคัญ
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
โครงการหลัก 1. โครงการ Q+ Project (Quality Plus Performance Project ) 2. โครงการปรับเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ส่วนการบริหารการคลัง 3. โครงการพัฒนาและปรับปรุงเทคโนโลยี-สารสนเทศของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
โครงการหลัก 1. โครงการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพทั้งองค์กร CU-Quality WAYS
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
โครงการหลัก 1. โครงการพัฒนาระบบงานนิติการ 2. โครงการพัฒนาสำนักตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง 3. การพัฒนาระบบ IT เพื่อการวางแผนบริหารคุณภาพ การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายในแบบบูรณาการ
เป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการบริหารจัดการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการบริหารจัดการ ที่คล่องตัว กระชับและรวดเร็ว ยุทธศาสตร์ “มั่นคง” เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการบริหารทรัพย์สิน ทั้งทางกายภาพ และทรัพย์สินทางปัญญา อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์และนำศักยภาพของศิษย์เก่า มาร่วมพัฒนามหาวิทยาลัย
มีทรัพยากรทางด้านการเงินที่มั่นคงมีทรัพยากรทางด้านการเงินที่มั่นคง มีการบริหารทรัพย์สินที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผลผลิตและผลลัพธ์ที่สำคัญ
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
โครงการหลัก 1. โครงการบริหารเงินทุนให้เกิดประโยชน์ สูงสุดภายใต้ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Fund Management) 2. โครงการพัฒนาและบริหารทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมาย
โครงการหลัก 1. โครงการบริหารทรัพย์สินทางปัญญาของจุฬาฯ