1 / 150

From “Smart Province” To “Smart Country Technology” Future of Thailand

From “Smart Province” To “Smart Country Technology” Future of Thailand. DR.SURACHAI SRISARACAM. สารบัญการนำเสนอ. ความจำเป็นในการจัดทำจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบ. 1. ขาดเป้าหมายร่วมในการพัฒนาที่ชัดเจน 2. ไม่มีตัวชี้วัดในการพัฒนาที่เป็นมาตรฐานและทั่วถึง

Download Presentation

From “Smart Province” To “Smart Country Technology” Future of Thailand

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. From “Smart Province” To “Smart Country Technology” Future of Thailand DR.SURACHAI SRISARACAM

  2. สารบัญการนำเสนอ

  3. ความจำเป็นในการจัดทำจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบความจำเป็นในการจัดทำจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบ 1. ขาดเป้าหมายร่วมในการพัฒนาที่ชัดเจน 2. ไม่มีตัวชี้วัดในการพัฒนาที่เป็นมาตรฐานและทั่วถึง 3. ขาดระบบขับเคลื่อนในการบูรณาการการพัฒนาทำให้เกิดความซ้ำซ้อนและสิ้นเปลืองงบประมาณ 4. ขาดความต่อเนื่องในการพัฒนาสู่ความก้าวหน้าอย่างทั่วถึงและยั่งยืน 5. ขาดการนำเอาวิทยาการสมัยใหม่ (เช่น ICT) เข้ามาใช้อย่างเต็มรูปแบบในการบริหารงานแบบการบูรณาการเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของยุคโลกาภิวัฒน์ และการเข้าสู่ประชาคมโลก ทำให้เสียโอกาสในการพัฒนาและชิงความได้เปรียบ 6. ขาดโอกาสในการรวบรวมและพัฒนาองค์ความรู้และวิทยาการสมัยใหม่ ในการบริหารจัดการประเทศที่เป็นจุดเด่นของประเทศไทย เพื่อสร้างเป็นสินค้าในการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปยังต่างประเทศ (เช่น NERS) เพื่อตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ เพื่อคุณภาพชีวิตและสังคมอุดมปัญญาของมวลมนุษยชาติ โดยเฉพาะประเทศที่เพิ่งเริ่มเข้าสู่การพัฒนา หรือประเทศที่พัฒนาแล้ว แต่ยังขาดรากฐานที่มั่นคง

  4. ความจำเป็นในการจัดทำจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบ (ต่อ) 7. ขาดการพัฒนากระทรวงหลักในการพัฒนาประเทศอย่างบูรณาการ อันได้แก่ 1. กระทรวงมหาดไทย 5. กระทรวงศึกษาธิการ 2. กระทรวงกลาโหม 6. กระทรวงสาธารณสุข 3. กระทรวงการคลัง 7. กระทรวงคมนาคม 4. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 8. กระทรวงการต่างประเทศ “กระทรวงมหาดไทย คือ แกนของทุกเรื่อง” “กระทรวงกลาโหม คือ กำลังเสริมในยามฉุกเฉิน-ร่วมพัฒนาในยามปกติ-พื้นที่ในครอบครองคือ GDP มหาศาล” “กระทรวงการคลัง ทิศทางเศรษฐกิจของประเทศและจังหวัด” “กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระบบเศรษฐกิจเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ-รากฐานเศรษฐกิจที่แท้จริง” “กระทรวงศึกษาธิการ ผลิตคนให้ตรงต่อการพัฒนา-สร้างปัญญาชนสู่สังคม-ต้นทุนมนุษย์คุณค่ามหาศาล” “กระทรวงสาธารณสุข ศูนย์สุขภาพและอาหารปลอดภัย-ASEAN Medical Hub-ชุมชนสุขภาพ- ชุมชนผู้สูงอายุ-ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ” “กระทรวงคมนาคม อยู่บ้านได้ทุกอย่าง-เสร็จสิ้นภารกิจโดยไม่ต้องออกไปทำงาน-เมื่อต้องออกจากบ้าน ไม่ต้องขับรถ-ขนส่งสินค้าได้สะดวก-คนมาเที่ยวสบาย-ชีวิตปลอดภัย-ลดค่าครองชีพ” “กระทรวงการต่างประเทศ มีแต่เพื่อนและคู่ค้า-อุดหนุนและป้องกันซึ่งกันและกัน”

  5. ความจำเป็นในการจัดทำจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบ (ต่อ) 8. ขาดการมอบอำนาจและกระจายอำนาจอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการบริหารประเทศ และเสริมสร้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอย่างต่อเนื่อง 9. การบริการประชาชนยังไม่สะดวกตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมและยังคงต้องเสียค่าใช้จ่ายมากเกินควร 10. ระบบเศรษฐกิจยังกระจุกตัวและไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ 11. ระบบการศึกษาของชาติยังขาดการบูรณาการและผลิตปัญญาชนอย่างมีคุณภาพเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 12. ขาดการบูรณาการระบบข้อมูลข่าวสารในทุกภาคส่วนของสังคมไทยให้เป็นเอกภาพและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการวางยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ในการพัฒนาประเทศได้ทันเวลาเพื่อก้าวสู่ความยั่งยืน ตลอดจนป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในภาวะฉุกเฉิน

  6. หน่วยงานเจ้าภาพในการดำเนินงานตามโครงการจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบหน่วยงานเจ้าภาพในการดำเนินงานตามโครงการจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบ 1. หน่วยงานเจ้าภาพหลัก กระทรวงมหาดไทย 2.หน่วยงานเจ้าภาพรอง 2.1 สำนักงาน ก.พ.ร 2.2 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) 2.3 สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2.4 สำนักงาน ก.พ. 3. หน่วยงานเจ้าภาพร่วม 3.1 หน่วยงานทุก กระทรวง ทบวง กรม 3.2 หน่วยงานทุกรัฐวิสาหกิจ 3.3 องค์กรภาคเอกชน 3.4 องค์กรระหว่างประเทศ 4.พื้นที่ดำเนินงาน จังหวัดนครนายก 5. พื้นที่ขยายการดำเนินงาน ทุกจังหวัดทั่วประเทศ และต่างประเทศ (SCTT)

  7. 1. หลักการจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบ การพัฒนาจังหวัดอัจฉริยะต้นแบบ ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ อันได้แก่ 1. นำระบบการบริหารงานแบบบูรณาการเพื่อคุณภาพชีวิตและสังคมอุดมปัญญา (Integrated Quality of life and Wisdom Society Management : IQWM) มาเป็นหลักในการขับเคลื่อน 2. กำหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicator: KPI) เป็นเป้าหมายหลักในการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาสู่คุณภาพชีวิตและสังคมอุดมปัญญาในระดับจังหวัดและประเทศ 3. นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology:ICT) เข้ามาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ เพื่อบรรลุตัวชี้วัดในการพัฒนา

  8. 5 Key ICTs of NYSP (13/68) : CISEE IQWM 1. Communication 2. Information 3. Services 4. Education 5. Economy 1 5 Communication (C) Economy (E) PIDHE PARKS Quality of Life and Wisdom Society (QW) 2 4 Information (I) Education (E) 3 10 KPIs Service (S)

  9. CISEE : NYSP 1. ติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสาร เสียง ข้อมูล ภาพ (Fiber/3G/4G) 2. จัดหาอุปกรณ์การใช้ระบบสื่อสารส่วนบุคคล เช่น S-PHONE, S-PAD, TABLET, M-PC 3. ติดตั้ง KIOSK ยังจุดสาธารณะ 4. ติดตั้ง Internet Free WIFI ยังจุดสถานที่ราชการ ภาคธุรกิจ และ สาธารณชุมชนที่จำเป็น 5. จัดสร้าง Website กลางของจังหวัด เพื่อ CISEE C : Communication

  10. C : Communication(ต่อ) 6. พัฒนาระบบ Communication Application หลัก ดังนี้ 6.1 Communication Directory 6.2 E-mail 6.3 Skype 6.4 Web Conference 6.5 Social Network 6.6 ระบบเชิญประชุม รายงานการประชุม บันทึกการประชุม และ เผยแพร่ (KM) 6.7 ระบบหนังสือสั่งการ และหนังสือราชการ 6.8 ระบบรายงานเหตุการณ์ และรายงานผลการปฏิบัติงาน 6.9 ระบบประชาสัมพันธ์ 6.10 ระบบ CCTV และ Remote Sensing

  11. C : Communication(ต่อ) 7. ติดตั้งหอกระจายข่าวประจำชุมชนและหมู่บ้าน 8. ติดตั้งระบบเครือข่ายสถานีวิทยุภายในจังหวัด 9. ติดตั้งระบบเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ภายในจังหวัด 10. จัดตั้งระบบเครือข่ายเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครรายงานข่าว 11. ติดตั้งระบบ Electronic Board สาธารณะ และการบริหารจัดการ 12. ติดตั้งระบบ Electronic Board สถานที่ราชการ และภาคธุรกิจ พร้อมระบบบริหารจัดการ 13. จัดทำระบบเตือนภัยและเตือนข้อปฏิบัติของทางราชการ 14. จัดทำระบบการบินสำรวจพื้นที่ตามช่วงเวลา เพื่อรายงานสดหรือบันทึกภาพเหตุการณ์ 15. จัดทำระบบประชามติโดยใช้บัตรประจำตัวประชาชนและระบบเครือข่ายสื่อสาร 16. จัดทำระบบสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในประเด็นที่สำคัญ (Smart Survey) 17. กำหนดแผนงานหลักเกี่ยวกับการคมนาคมภายในจังหวัด พร้อมทั้งจัดทำโครงการในการพัฒนาระบบการคมนาคมอย่างยั่งยืน โดยเชื่อมโยงกับระบบ GIS กลางของจังหวัด

  12. I : Information 1. ข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมอุดมปัญญา (PIDHE/PARKS) 2. ข้อมูล กชช2ค และ จปฐ. (ปรับปรุงใหม่) 3. ข้อมูลบัญชีครัวเรือน (D/S) 4. ข้อมูลทะเบียนกลางของกรมการปกครอง (NERS) 5. ข้อมูลทะเบียนอื่นๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมต่างๆ และ เชื่อมโยงเข้ากับข้อมูลทะเบียนกลาง (MERS) 6. ข้อมูล GIS กลางของจังหวัด เชื่อมโยงลงสู่หมู่บ้าน/ชุมชน และหน่วยงาน ทุกหน่วยงานเพื่อใช้งานร่วมกันไม่ต่ำกว่า 70 layers 7. การเชื่อมโยงข้อมูลทะเบียนราษฎรของจังหวัด เข้ากับระบบ GIS กลาง ของจังหวัด 8. การบูรณาการระบบ MIS ของทุกส่วนราชการ เพื่อใช้งานร่วมกัน ระดับจังหวัด

  13. I : Information(ต่อ) 9. ระบบการควบคุม ติดตาม และบูรณาการแผนงานและงบประมาณ จากทุกภาคส่วนในจังหวัด (PPB) 10. การเชื่อมโยงงานทะเบียนย่อย ระบบ MIS ที่บูรณาการ และระบบ แผนงานโครงการงบประมาณเข้ากับระบบ GIS กลางของจังหวัด 11. การกำหนดตำแหน่ง (Position) และเขต (Zoning) การผลิตสินค้าและ บริการให้เหมาะสมกับสภาพภูมิสังคมในแต่ละพื้นที่ ตั้งแต่ระดับชุมชน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัด โดยกำหนดให้สอดคล้องกับอุปสงค์ และอุปทาน(D/S) ไว้ในระบบ GIS เชื่อมโยงกับระบบ NERS และ MIS 12. จัดทำระบบ IOC (Intelligent Operation Center) : ศูนย์ปฏิบัติการแบบ บูรณาการระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน/ชุมชน โดยเชื่อมโยงเข้า หากัน และเชื่อมโยงไปยังรัฐบาลกลาง เพื่อการสื่อสาร (C) และเรียกใช้ ข้อมูลข่าวสาร (I) ในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา วางแผนแบบบูรณาการ และ กำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกัน

  14. S : Services 1. งานบริการภาครัฐของทุกกระทรวง/กรม/รัฐวิสาหกิจ 2. งานบริการภาคธุรกิจของบริษัท/ร้านค้า/โรงงาน/โรงแรม/รีสอร์ท/ สนามกอล์ฟ/สถานประกอบการต่างๆ 3. งานบริการของสหกรณ์/วิสาหกิจชุมชน/ไปรษณีย์ (POST)/ โฮมสเตย์ /สถานที่ท่องเที่ยว 4. งานบริการของธนาคารและสถาบันการเงิน 5. งานบริการขององค์กรการกุศล 6. งานบริการขององค์กรอิสระ/NGO/สภาภาคประชาชน 7. งานบริการขององค์กรระหว่างประเทศ 8. รูปแบบการให้บริการ

  15. E-Service Model องค์กรทั้ง 7 รูปแบบ Backup System Private Network Data Center Cloud System (?) NERS CA GIS เคาน์เตอร์ ภาคธุรกิจ Smart Internet Network (SIN) (Fiber/3G/4G/XG) เคาน์เตอร์ ธนาคาร GWP (Gate Way Payment) Logistic System KM System 2 1 3 QSC KIOSK SMD (Smart Mobile Device) (Quality Service Center) - S-Phone - S-PAD - M-PC - Tablet - สำนักงานร่วม - ศาลากลางจังหวัด - อำเภอ - อบต/เทศบาล - ศขบ. MPC PKI E-Purse

  16. E : Education 1. ระบบบริหารจัดการโรงเรียน มหาวิทยาลัย และสถานศึกษา กลาง 2. ระบบทะเบียนนักเรียนและนักศึกษากลาง เชื่อมโยงกับระบบทะเบียน ราษฎรและบัตรประจำตัวประชาชน (NERS : ฐานข้อมูลทะเบียนกลาง) 3. ระบบสนับสนุนการเรียนการสอนแบบ 4 มิติ เพื่อพัฒนากำลังคนที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 4. จัดทำระบบ Cyber Education Center (CEC) และระบบ ThaiKnowledge Management Center (TKMC) เพื่อสนับสนุนระบบ E-Learning ใน สังคมไทย และยกระดับสู่สังคมผู้ใฝ่การเรียนรู้ (LearningCitizen) และ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) 5. จัดทำระบบสนับสนุนการเรียนรู้ทุกสาขาวิชาในเรื่องการฝึกพิมพ์ดีด ไทย-อังกฤษ, การใช้ Internet และหลักสูตรฝึกภาษาอังกฤษด้วย ตนเอง 6. รณรงค์และปรับเปลี่ยนกฎเกณฑ์ให้สอดคล้องกับปรัชญา “นิยมคนดี-คนเก่ง” มากกว่าค่านิยมวุฒิบัตร “กระดาษความรู้” โดยเฉพาะระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ให้เน้นการศึกษาผ่านระบบ CEC พร้อมทั้งจัดทำฐานข้อมูลกลางเกี่ยวกับผู้ชำนาญการด้านต่างๆ ของประเทศ

  17. E : Education(ต่อ) 7. เน้นการผลิตบุคลากรซึ่งเป็นกำลังแรงงานหลักของประเทศในระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรีภาคภาษาอังกฤษ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนในสาขาต่างๆ หลักดังต่อไปนี้ 7.1 การผลิตอาหาร 7.2 การให้บริการด้านการท่องเที่ยวและโรงแรม 7.3 ICT SCT 7.4 ผู้ช่วยพยาบาล 7.5 พยาบาล 7.6 แพทย์ 7.7 การตลาด 7.8 การบริหารธุรกิจ

  18. E : Education(ต่อ) 8. จัดทำระบบ E-Library E-Book และ E-Content เชื่อมโยงกับระบบ CEC และ TKMC พร้อมทั้งให้ทุนวิจัยในการจัดทำและส่งเสริมการจดทะเบียนลิขสิทธิ์พร้อมผลประโยชน์ค่าตอบแทน 9. จัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ ICT ภาคภาษาอังกฤษ (KIII : Khundan International ICT Institute) 10. จัดตั้งสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการ จังหวัดอัจฉริยะ Smart Province Institute of Technology : SPIT 11. จัดตั้งสถาบันการถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการ ประเทศอัจฉริยะ Smart Country Institute of Technology : SCIT 12. จัดทำระบบ Thai Search “Thaiangle” เพื่อค้นหาองค์ความรู้ของ ระบบ E-book E-ContentCEC และ TKMC ของประเทศไทย “ปัญญาไทย”

  19. E : Economy 1. ออกแบบระบบเศรษฐกิจจังหวัดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและเติบโตอย่างยั่งยืน 2. จัดตั้งระบบ กม-ศขบ-วิสาหกิจชุมชน ประจำหมู่บ้านและชุมชน 3. จัดตั้งระบบ อบต-สหกรณ์ตำบล 4. จัดตั้งระบบ เทศบาล-สหกรณ์เทศบาล 5. จัดตั้งระบบ อบจ-ชุมนุมสหกรณ์จังหวัด 6. จัดตั้งสถาบันเกษตรอินทรีย์จังหวัด (ขุนด่าน) 7. จัดตั้งศูนย์นวตกรรมจังหวัด (ขุนด่าน) 8. จัดตั้งศูนย์สุขภาพและนวดแผนไทยประจำชุมชน 9. จัดตั้งระบบเครื่องหมายการค้าจังหวัด (ขุนด่าน) 10. จัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจจังหวัด ประกอบด้วยทุกภาค ส่วน ระดับจังหวัดและอำเภอ โดยให้สำนักงานจังหวัดเป็นแกนระดับจังหวัด และสำนักงานอำเภอเป็นแกนระดับอำเภอ

  20. E : Economy(ต่อ) 11. จัดตั้งเวทีเจรจาการค้าและการประกอบธุรกิจ (Economy Council) ตามแนวความคิด บนสู่ล่าง-ล่างสู่บน Local to Global – Global to Local 12. จัดตั้งสำนักงานส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาจังหวัด 13. จัดทำ MOU เพื่อสนับสนุนการพัฒนาร่วมกันกับหน่วยงานภายในประเทศ – ต่างประเทศ บ้านพี่เมืองน้อง ภาคเอกชน (PPP) และองค์กรระหว่างประเทศ และเผยแพร่ทาง Website 14. กำหนด Zoning นิคมการค้า อุตสาหกรรม ชุมชนอยู่อาศัย ภาคการเกษตร ชุมชนผู้สูงอายุ ชุมชนนานาชาติ Long Stay และเขตการค้า และแหล่ง ท่องเที่ยว โดยเชื่อมโยงกับระบบ GIS และผังเมือง 15. จัดทำระบบการจ้างงาน (ต้องการผู้ทำงาน) การฝึกงาน (ต้องการผู้ฝึกงาน) การว่างงาน (ต้องการหางานทำ) และการฝึกอบรมแรงงาน (เพิ่มทักษะฝีมือ แรงงานของการประกอบอาชีพ และหางานทำ)

  21. E : Economy (ต่อ) 16. จัดทำระบบ Logistic และ E-Commerce เพื่อการสั่งซื้อสินค้าและ ส่งสินค้า 17. จัดทำระบบมหกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและการพาณิชย์ประจำ ของจังหวัด โดยสร้าง Brand และเผยแพร่ผ่านทาง Website 18. จัดทำระบบ Road Show และประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวและ การพาณิชย์ของจังหวัด ผ่านทาง Website 19. จัดทำระบบสมาชิกท่องเที่ยวและสิทธิประโยชน์ของสมาชิก ท่องเที่ยวจังหวัด 20. จัดตั้งระบบมัคคุเทศก์อาสา ล่ามอาสา และทูตการค้าประจำจังหวัด 21. จัดทำ Website และติดตั้งระบบ Software ที่เกี่ยวข้อง ในข้อ 1-20

  22. MDB : MAIN DATA BASE OF NYSP (SCT) NERS 1 : Basic Rights of Citizen “They needs the Country to protect their rights and property” IQWM KPIs GIS 2 MIS 233 : Ministry Functions and Planning : Imagination and Visualization of Country Development

  23. โครงสร้างหน่วยงานหลักของจังหวัดอัจฉริยะโครงสร้างหน่วยงานหลักของจังหวัดอัจฉริยะ NERSO โรงพยาบาล ศูนย์ โรงพยาบาล อำเภอ โรงพยาบาล ตำบล SPIT กองบังคับการ ตำรวจภูธร จังหวัด SPO SCIT สถานีตำรวจ ร โรงเรียน ร สำนักงาน จังหวัด/กบจ ส่วนราชการจังหวัด คุณภาพชีวิต สำนักงาน อำเภอ/กบอ ส่วนราชการอำเภอ บ้าน กม/วิสาหกิจชุมชน (ศขบ.) อบต. สหกรณ์ตำบล บ รัฐบาลกลาง สังคมอุดมปัญญา ว วัด (ศาสนา) เทศบาล สหกรณ์เทศบาล ว APO ASEAN อบจ. ชุมนุมสหกรณ์จังหวัด (วัง) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปราชญ์พระราชา ประจำชุมชน (สถาบันเกษตรอินทรีย์) UN กรอ. ภาคเอกชน กรอ. ภาคเอกชน ระดับจังหวัด SPO = Smart Province Office APO = ASEAN Plus Office SCIT = Smart Country Institute of Technology SPIT = Smart Province Institute of Technology NERSO = National Electronic Regulation System Office

  24. SPA : Smart Province Architecture ศขบ. QSC หน่วยงาน การบันทึกข้อมูล (DATA ENTRY) SSV –ครัวเรือน 1 – ประชาชน SMD ศขบ. Server ราชการ ส่วนจังหวัด Server ราชการ ส่วนกลาง QSC หน่วยงาน การให้บริการ (E-Service) SSV – ครัวเรือน PKI 2 – ประชาชน SMD • QSC • IOC • KIOSK • SMD • - M-PC • - S-PAD • - S-PHONE • - TABLET CCTV IOC การเรียกใช้ข้อมูล (INQUIRY) เจ้าหน้าที่ 3 MPC SAP SMD SINGLE SIGN ON (SSO) CLOUD INTERNET 3G/4G/XG ประชาชน IOC การเตือนสังคม (Social Warning) 4 RS หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง QSC SHO การสื่อสารกับสังคม (Social Network) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5 E-Purse SMD – ประชาชน Server ภาคเอกชน Server ธนาคาร เจ้าหน้าที่ การเรียนรู้ (E-Learning) 6 QSC ประชาชน SMD = Smart Mobile Device SSV = Smart Survey Volunteer SAP = Smart Air Plane RS = Remote Sensing SHO = Smart Home and Office นักเรียน/นักศึกษา ศขบ –วิสาหกิจชุมชน อบต – สหกรณ์ตำบล เทศบาล – สหกรณ์เทศบาล อบจ – ชุมนุมสหกรณ์จังหวัด ภาคเอกชน การซื้อขาย สินค้า--บริการ (E-Commerce) 7 QSC/ SMD

  25. NYSP APPLICATION 2 การวางผังเมือง และ วางผังพัฒนาจังหวัดอย่างต่อเนื่อง (2) 13 3 การบูรณาการแผนงานและงบประมาณ อย่างต่อเนื่อง (2) การปกครอง และความมั่นคง (5) 12 4 สังคมอุดมปัญญา การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (10) 1 การพาณิชย์ (9) FIBER LINK /3G /4G /XG /INTERNET WIFI การสื่อสารข้อมูลอัจฉริยะ (6) 11 5 เพื่อคุณภาพชีวิต การบริการ ประชาชน (8) การศึกษา (4) NYSP SCT 6 10 การจัดการ บ้านเมืองน่าอยู่ (4) การบริการสาธารณสุขและสุขภาพ (10) 7 9 การท่องเที่ยว (3) การอาหาร (2) 8 การเกษตร (3)

  26. 2. วงล้ออัจฉริยะ : NY-Smart Wheel ศขบ.-วิสาหกิจชุมชน สภาการศึกษา สภาแรงงาน สภาการเกษตร WISDOM SOCIETY วัด -โรงเรียน MPC ระบบเศรษฐกิจขุนด่าน สภาอุตสาหกรรม หอการค้า E-GOVERNMENT สหกรณ์ตำบล อบต MPM MERS NERS สมาคมท่องเที่ยว NYSP SYSTEMS GWP-CA PDT-PPB เทศบาล สหกรณ์ชุมชน KHONTHAI.COM E-SERVICE E-EDUCATION. KEM-KSC NY-THAILAND.COM NY-THAILAND.NET สถานที่ท่องเที่ยว สมาชิก NY NY NET NAKHONNAYOK.GO.TH Server , PC, IPAD, IPHONE, TABLET 3G / 4G NY WIFI PIDHE NYSP PARKS FOODGOODS-NY.COM TOUR-NY.COM QUALITY OF LIFE LIS SOCIAL-NY.NET WWW.SOCIAL NETWORK GIS สนท. อบจ.-ชุมนุมสหกรณ์จังหวัด สนอ.-สนจ. การจัดการน้ำ ขยะ และพลังงาน (E-Environment) ศูนย์นวัตกรรมขุนด่าน ศูนย์ข้อมูลแห่งชาติและชุมชน ICT -ขุนด่าน สำนักงานส่วนราชการ ศูนย์ข้อมูลบริหารจังหวัด E-Agriculture สถาบันเกษตรอินทรีย์ขุนด่าน (KAI) ไปรษณีย์ ธนาคาร - QSC E-HEALTH ชุมชนสุขภาพ-ชุมชนผู้สูงอายุ ที่ทำการปกครองจังหวัด IOC สำนักทะเบียนจังหวัด ศูนย์ข้อมูลทะเบียนจังหวัด การจัดการการคมนาคม E-Logistic ตร.ภ.จว.,สภ. ระบบกระบวนการยุติธรรม. โรงพยาบาล

  27. “Smart Province Direction” Quality of Life and Wisdom Society SCTT SCT SP SPIT UN ASEAN SCIT SPO SP = Smart Province SPO = Smart Province Office SCT = Smart Country Technology SCIT = Smart Country Institute of Technology SCTT = Smart Country Transfer of Technology SPIT = Smart Province Institute of Technology

  28. NYSP 13 Systems 68 Sub Systems NYSPO SCIT SCT 4 Systems 20 Sub-systems SCTT THSC 2 GROWTH & Competitiveness (GC) 1. SCCP-2 5. SCFFC-3 Quality Of Life (5 KPIs) (PIDHE) 2. SCTS-2 6. SCMC-3 Wisdom Society (5KPIs) (PARKS) 3. SCCN-5 7. SCSV-5 1 4. SCWS-3 8. SCKPI-5 GOOD Governance Growth (GGG) NYSP 4 3 Green Growth (GG) Inclusive Growth (IG) 1. SCIQWM-5 4. SCPPB-5 5.SCEG-5 2. SCNERS-5. 3. SCGIS-5 6. SCIOC-5 1. SCGC-2 1. SCES-5 2. SCTH-1 2. SCKS-4 3. SCEC-4 3. SCSC-5 “Smart Country Technology”

  29. Quality of Life and Wisdom Society SCT : Smart Country Technology 3. SCEC = Smart Country Ethical Consumption 2. SCTH = Smart Country Tourism and Health 1. SCGC = Smart Country Green City GG : Green Growth 3. SCSC = Smart Country Strong Community 2. SCKS = Smart Country Knowledge System 1. SCES = Smart Country Economy System IG : Inclusive Growth 8. SCKPI = Smart Country Key Performance Indicator 7. SCSV = Smart Country Silicon Valley 6. SCMC = Smart Country Medical Center 5. SCFFC = Smart Country Fruit and Flower Center 4. SCWS = Smart Country Water Supply 3. SCCN = Smart Country Communication Network 2. SCTS = Smart Country Transportation System 1. SCCP = Smart Country City Planning GC : GROWTH & Competitiveness 6. SCIOC = Smart Country Intelligence Operation Counter 5. SCEG = Smart Country E-Government 4. SCPPB = Smart Country Planning Projecting and Budgeting 3. SCGIS = Smart Country Geographic Information System 2. SCNERS = Smart Country National Electronic Registration System 1. SCIQWM = Smart Country Integrated Quality of life and Wisdom society Management GGG : GOOD Governance Growth

  30. 3. เป้าหมาย : 5 ตัวชี้วัดในการพัฒนา “คุณภาพชีวิต” (PIDHE) : จัดเก็บข้อมูลโดย ศขบ. ทุกไตรมาส 1. ผลผลิตมวลรวมของจังหวัดต้องเพิ่มขึ้น (P : Gross Provincial Product) 2. รายได้ประชากรต่อหัวต่อปีของจังหวัดต้องเพิ่มขึ้น (I : Per Capita Income) 3. การกระจายรายได้ของประชาชนในจังหวัดต้องดีขึ้น (D : Distribution of Income 4. ความผาสุกมวลรวมของประชาชนในจังหวัดต้องดีขึ้น (H : Gross Happiness Index) 5. ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานภาครัฐของจังหวัดต้องลดลง (E : Government Expense)

  31. ตัวชี้วัดที่ 1 : ผลผลิตมวลรวมเพิ่มขึ้น • การลงทุนภาครัฐเพิ่มขึ้น(ส่วนกลาง,ภูมิภาค,ท้องถิ่น) • การลงทุนภาคเอกชนเพิ่มขึ้น • คนย้ายเข้ามาอยู่เพิ่มขึ้น

  32. GPP : ผลผลิตมวลรวม 1. ที่ดิน2. ธรรมชาติ3. แหล่งน้ำ4. การใช้ประโยชน์ที่ดิน - มูลค่า5. สิ่งปลูกสร้างในที่ดิน6. ถนน7. ท่อระบายน้ำและระบบการบำบัด น้ำเสีย8. ขยะและระบบการบำบัดขยะ9. ไฟฟ้า10. ประปา 11. โทรศัพท์12. ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลและเสียง13. สินค้า14. บริการ15. เครื่องจักร เครื่องกล16. ครุภัณฑ์17. ทรัพยากรมนุษย์18. ทรัพย์สินที่มีมูลค่า19. กองทุนและเงินออม20. อื่นๆที่สามารถตีมูลค่าได้ 21. ข้อมูล 16 หมวดตามที่สภาพัฒน์ฯ กำหนด

  33. ตัวชี้วัดที่ 2 : รายได้ประชากร ต่อหัวต่อปีเพิ่มขึ้น • ประชาชนพึ่งพาตนเองได้ • การจ้างงานเพิ่มขึ้น (ภาครัฐและเอกชน) • การซื้อขายสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น • จำนวนนักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนเพิ่มขึ้น • จำนวนผู้เสียภาษีเพิ่มขึ้น

  34. ตัวชี้วัดที่ 3 :การกระจายรายได้เพิ่มขึ้น • ประชาชนพึ่งพาซึ่งกันและกันในรูปแบบสหกรณ์ตำบล สหกรณ์เทศบาล และสหกรณ์จังหวัด • การผลิตสินค้าและบริการของสหกรณ์เพิ่มขึ้น • การซื้อสินค้า บริการ และการจ้างงานของสหกรณ์เพิ่มขึ้น • การสนับสนุนทรัพยากรการผลิต ล่างสู่บน และบนสู่ล่างเพิ่มขึ้น • การพึ่งพาซึ่งกันและกัน ระหว่างสหกรณ์จังหวัดแต่ละจังหวัด และภูมิภาคอาเซียน เพิ่มขึ้น

  35. ตัวชี้วัดที่ 4 : ดัชนีความผาสุกเพิ่มขึ้น 1. สุขภาพแข็งแรง 2. มีความรู้สอดคล้องกับทักษะ 3. ใช้ชีวิตแบบพอเพียง 4. ประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ 5. มีปัจจัย 4 และสิ่งอำนวยความสะดวกตามความจำเป็น 6. มีเงินออมไว้ใช้ในยามจำเป็น 7. ไม่มีหนี้สิน 8. มีทรัพย์สินสืบทอดวงศ์ตระกูลตามสถานะ 9. มีสาธารณูปโภค สาธารณูปการพอเพียง 10. มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

  36. ตัวชี้วัดที่ 4 : ดัชนีความผาสุกเพิ่มขึ้น (ต่อ) 11. อยู่ในสภาพสิ่งแวดล้อมดี 12. มีกัลยาณมิตรและพึ่งพาซึ่งกันและกัน 13. ไม่มีความผิด 14. ได้รับการยอมรับในสังคมมากขึ้น 15. ได้รับการบริการของรัฐที่ดี 16. ได้รับการคุ้มครองรักษาสิทธิ์ 17. มีจิตอาสา 18. เลี้ยงลูกได้ดี 19. ครอบครัวอบอุ่น 20. จิตใจเบิกบาน

  37. ตัวชี้วัดที่ 5 : ค่าใช้จ่ายการบริหารงานลดลง • บูรณาการ • มอบอำนาจและกระจายอำนาจ • ให้ประชาชนสามารถบริการตนเอง • ลดการใช้ครุภัณฑ์วัสดุอุปกรณ์ • ลดการเดินทาง • ลดเวลาการปฏิบัติ • จ้างงานผ่านสหกรณ์และภาคเอกชน (Outsource - Contact out - PPP) • ปรับเปลี่ยนและลดบุคลากร

  38. 4. เป้าหมาย : 5 ตัวชี้วัดในการพัฒนา “สังคมอุดมปัญญา” (PARKS) : จัดเก็บข้อมูลโดย ศขบ.ทุกไตรมาส • สันติภาพและสันติสุข คือ เป้าหมายร่วม : Peaceful • ปรับตัว คือ สิ่งที่ต้องกระทำ : Adjustment • เหตุผลและสัจจธรรม คือ จิตใจของทุกคน: Reason • เรียนรู้และสร้างสรร คือ หลักดำเนินชีวิต : Knowledge • พอเพียง คือ วิถีชีวิตและอาชีพ : Sufficiency

  39. 1. P : สันติสุข คือ เป้าหมาย 1. เข้าใจในสัจธรรมทุกคนเป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตายด้วยกัน ทั้งหมดทั้งสิ้น 2. เชื่อในกฎแห่งกรรม 3. ยอมรับความแตกต่างในสถานะ 4. สามัคคีและความพร้อมเพรียงกัน 5. โอบอ้อมอารี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 6. ปลอดยาเสพติด และอบายมุข 7. ปลอดอาชญากรรม และโจรผู้ร้าย 8. มีความกตัญญู และรักถิ่น 9. ร่วมกันรับผิดชอบให้สังคมอยู่ได้ เราจึงจะอยู่ได้ 10. ตระหนักถึงการไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน

  40. 2. A : ทุกคนต้องปรับตัวเพื่อรักษาสันติสุข 1. กำหนดกฎและวัฒนธรรมในการอยู่ร่วมกัน 2. ยอมรับผิดและแก้ไขปรับปรุง 3. มีความกรุณาและให้อภัย 4. มีความเมตตาและให้ความช่วยเหลือ 5. ชื่นชมยินดีในความสำเร็จของเพื่อนบ้าน 6. มีความสงบกาย สงบใจ และยิ้มรับกับทุกข์ภัยที่ประสบ 7. เอาใจเขามาใส่ใจเรา ไม่เอาแต่ใจตนเอง 8. มีการประนีประนอมและใช้สันติวิธี 9. ไม่หูเบา กล้าเผชิญความจริง ทุกอย่างพูดจากันได้ 10. ทุกปัญหามีทางออกด้วยสันติวิธี ถอยกันคนละก้าว

  41. 3. R : ใช้เหตุผลยึดความถูกต้อง 1. ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก 2. ใช้หลักประชาธิปไตยเคารพเสียงส่วนใหญ่ 3. ไม่ละเลยเสียงส่วนน้อย ปรับความเข้าใจ ให้ความช่วยเหลือเยียวยา 4. ค้นหาสาเหตุ แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด 5. ยอมรับความเห็นที่แตกต่าง 6. ค้นหาข้อมูล วิเคราะห์ หาทางออก และประเมินผลกระทบ 7. ให้ความรู้และโอกาสแก่ทุกฝ่ายโดยเท่าเทียมกัน 8. เคารพในสิทธิของแต่ละบุคคล 9. ประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคอยู่ตลอด 10. ชี้แจงข้อมูลและประชุมร่วมกันอยู่เป็นเนืองนิจ

  42. 4. K : หมั่นศึกษาหาความรู้และเป็นผู้ใฝ่การเรียนรู้ 1. จำนวนและระดับการอ่านออกเขียนได้ภาษาไทย 2. จำนวนและระดับการศึกษาในแต่ละชั้น 3. จำนวนและระดับการพูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ 4. จำนวนและระดับการใช้ Internet 5. จำนวนและระดับการศึกษาต่อผ่านทางระบบ Internet 6. จำนวนและระดับการเป็นผู้รักการอ่าน 7. จำนวนและระดับรักการคิดและเขียน 8. จำนวนและระดับการค้นหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจ 9. จำนวนและระดับการเข้าฝึกอบรมเพิ่มเติม 10. จำนวนและระดับการศึกษาดูงานเพิ่มเติม

  43. 5. S: การใช้ชีวิตอย่างพอเพียงและก้าวสู่ชีวิตที่เจริญ 1. มีอาชีพเหมาะสมกับความรู้ 2. มีการลงทุนประกอบอาชีพสอดคล้องกับทรัพย์สินที่มีอยู่ 3. ประกอบอาชีพที่ถูกกฎหมายและสอดคล้องกับความต้องการ ของสังคม 4. มีรายรับสุทธิเหมาะสมกับการดำรงชีพ 5. มีเงินออมไว้ใช้ในยามจำเป็น 6. เป็นสมาชิกวิสาหกิจชุมชนและสหกรณ์ เพื่อทำธุรกิจร่วมกัน 7. ให้อภัยและปลอดศัตรู 8. เลี้ยงลูกด้วยปัญญา 9. จัดทำมรดกไว้อย่างเหมาะสม 10. ระลึกถึงความตายและเตรียมพร้อมสู่ความตาย

  44. องค์กรการเมือง ASEAN PLUS 3 องค์กร การกุศล 5 1 ภาคธุรกิจ และ เอกชน หน่วยงานส่วนกลาง 2 หลักการบริหารงานแบบบูรณาการ (IQWM) 4 ท้องที่ และ ชุมชน หน่วยงานส่วนภูมิภาค 3 หน่วยงาน ส่วนท้องถิ่น 5 NGO สื่อมวลชน

  45. บทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วนบทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วน 1. หน่วยงานส่วนกลาง 1.1 กระจายอำนาจและมอบอำนาจลงสู่จังหวัด อำเภอ อบต./เทศบาล ศขบ.(กม/กช) 1.2 จัดทำและปรับปรุงระบบ E-Government /E-Service ในส่วนที่รับผิดชอบ 1.3 แก้ไขกฎระเบียบและขั้นตอนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง 1.4 ยุบ ควบรวม ปรับเปลี่ยน จัดตั้ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.5 ปรับบทบาทเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ทิศทาง สนับสนุน กำกับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผล

  46. บทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วนบทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วน 2. หน่วยงานส่วนภูมิภาค 2.1 ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นตัวแทนรัฐบาลและเป็นผู้กำกับดูแลและบูรณาการทุกหน่วยงานในจังหวัด 2.2 ปรับเปลี่ยนหน่วยงานส่วนกลางที่ประจำอยู่จังหวัด ให้เป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาคทั้งหมด ยกเว้นหน่วยงานอิสระ และรัฐวิสาหกิจ 2.3 มุ่งทำงานแบบบูรณาการในการกำหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ โครงการ แผนงาน การกำกับดูแล การให้การสนับสนุน การตรวจสอบและประเมินผลระบบการทำงาน การแก้ไขปัญหา และการสั่งการ 2. 4 มอบอำนาจและกระจายอำนาจลงสู่อำเภอ อบต/เทศบาล ศขบ.(กม/กช) 2.5 ศูนย์ราชการจังหวัด เชื่อมโยง และปรับเปลี่ยนสำนักงานให้คล่องตัว เพิ่มผลผลิต และลดค่าใช้จ่าย

  47. บทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วนบทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วน 3. หน่วยงานส่วนท้องถิ่น 3.1 ปรับเปลี่ยนหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพและลดค่าใช้จ่าย นำหลัก outsource และ PPP มาใช้ 3.2 เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจจังหวัดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและเติบโตอย่างยั่งยืน 3.3 มุ่งทำงานแบบบูรณาการกับจังหวัดในการกำหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ โครงการ แผนงาน ระบบการทำงาน การแก้ไขปัญหา และการสั่งการ 3.4 อบจ. เป็นเจ้าภาพหลักร่วมกับจังหวัด สนับสนุนการทำงานให้แก่ อบต./เทศบาล และศขบ.(กม/กช) แบบบูรณาการ 3.5 ท้องที่ ท้องถิ่น ส่วนราชการ และภาคเอกชน ต้องเข้มแข็งและทำงานใกล้ชิดกันอย่างบูรณาการ เพื่อเป้าหมายเดียวกัน คือ “คุณภาพชีวิตและสังคมอุดมปัญญา”

  48. บทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วนบทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วน 4. ท้องที่และชุมชน 4.1 ศขบ.เป็นกลไกหลักในการบูรณาการการทำงานของ กม.(หมู่บ้าน) และ กช (ชุมชนในเมือง) และเป็นจุดสุดท้าย (Last Mile) ในการให้บริการ แก้ไขปัญหา รับรู้ข้อมูลข่าวสาร และสื่อสารกับประชาชน 4.2 ส่วนราชการและท้องถิ่น เชื่อมโยง กระจายอำนาจ และทำงานใกล้ชิดกับ ศขบ. 4.3 ศขบ.คือจุดเริ่มต้นการพัฒนา เสนอความต้องการ รับ-ส่งข้อมูลข่าวสาร สร้างสรรค์สังคม และเสริมสร้างสันติสุข 4.4 ประชาชนทุกครัวเรือนปกครองตนเอง เชื่อมโยงใกล้ชิดกับรัฐและท้องถิ่น พึ่งพาซึ่งกันและกัน ลดความเหลื่อมล้ำ หมู่บ้านชุมชนเข้มแข็ง ประเทศไทยก้าวหน้า 4.5 ย่อส่วนประเทศไทยให้ง่ายแก่การบริหารจัดการและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เชื่อมโยงทุกหมู่บ้านชุมชนให้ทั่วถึงเป็นแผ่นดินเดียว พร้อมเชื่อมไทยสู่สากล (LOCAL TO GLOBAL / GLOBAL TO LOCAL)

  49. บทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วนบทบาทการดำเนินการแบบบูรณาการของแต่ละภาคส่วน 5. ภาคธุรกิจและเอกชน 5.1 มุ่งประกอบการร่วมกับจังหวัด ท้องถิ่น และท้องที่ แบบบูรณาการในด้านการกำหนดทิศทางการประกอบธุรกิจ ปรับปรุงกระบวนการผลิตและให้บริการ ลดค่าใช้จ่าย การตลาด และร่วมสร้างสรรค์สังคม 5.2 สนับสนุนท้องที่ และท้องถิ่น (ล่างสู่บน/บนสู่ล่าง) เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน 5.3 สนับสนุนการประกอบกิจการตามหลักจริยธรรม (EC: Ethical Consummation) 5.4 ภาคเอกชนรวมตัวกันอย่างเข้มแข็ง และประกอบธุรกิจพึ่งพาซึ่งกันและกัน 5.5 ทำงานแบบบูรณาการกับทางราชการอย่างเป็นมิตร เพื่อ “สังคมอยู่ได้ เราอยู่ได้”

  50. ศูนย์สุขภาพและอาหารปลอดภัยศูนย์สุขภาพและอาหารปลอดภัย วัด ส่วนราชการ ส่วนราชการ ส่วนราชการ รัฐสภา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ASEAN QSC QSC QSC QSC IOC IOC IOC IOC 5. จังหวัดอัจฉริยะต้นแบบ เน้น “การบูรณาการอย่างเป็นระบบ” IQWM STRUCTURE หมู่บ้าน / ชุมชน อบต. /เทศบาล สำนักงาน /อำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด / สำนักงานจังหวัด / ที่ทำการปกครองจังหวัด /อบจ. รัฐบาล /ครม. IOC Global / Logistics • - ผัง/แผน/GIS • ชุมนุนสหกรณ์ • จังหวัด • -องค์การการท่องเที่ยว • จังหวัด ภาคประชาชน / สื่อมวลชน - ผัง/แผน/GIS - ศขบ. - วิสาหกิจชุมชน - ผัง/แผน/GIS - อปท. - สหกรณ์ตำบล/เทศบาล - ผัง/แผน/GIS กนจ./ กรอ. ศูนย์นวัตกรรม/SCSV สถาบันเกษตรอินทรีย์ ขุนด่าน Logistics / E-Commerce โรงเรียน กบจ. ภาคเอกชน “ICT เชื่อมโยงทุกภาคส่วนเข้าหากัน” QSC: Quality Service Centerเพื่อเป้าหมายเดียวกันคือ IOC : Intelligence Operation Center “คุณภาพชีวิต และสังคมอุดมปัญญา : PIDHE - PARKS”

More Related