220 likes | 542 Views
แนะนำหลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต โดย อ.ดร.เณศรา สุขพานิช คณะทำงาน โครงการปริญญาตรี ภาคภาษาไทย. หลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต (P.73). ตามหลักสูตร 2547 นักศึกษาจะต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 137 หน่วยกิต ซึ่งประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก ๆ ดังนี้ วิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต วิชาบังคับนอกสาขา 12 หน่วยกิต
E N D
แนะนำหลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต โดย อ.ดร.เณศรา สุขพานิชคณะทำงานโครงการปริญญาตรีภาคภาษาไทย
หลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต(P.73)หลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต(P.73) ตามหลักสูตร 2547 นักศึกษาจะต้องศึกษาไม่น้อยกว่า 137หน่วยกิต ซึ่งประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก ๆ ดังนี้ • วิชาศึกษาทั่วไป 30หน่วยกิต • วิชาบังคับนอกสาขา 12หน่วยกิต • วิชาในสาขาเศรษฐศาสตร์ 56หน่วยกิต • วิชาโท 24หน่วยกิต • วิชาเลือกเสรี 15หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไป 30หน่วยกิต • ส่วนที่ 1: หลักสูตรกลางของมหาวิทยาลัย 21หน่วยกิต • ส่วนที่ 2: เลือก 9 หน่วยกิตจากวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัย หรือวิชาเบื้องต้นอื่น ๆ ที่คณะต่าง ๆ เสนอ และทางมหาวิทยาลัยเทียบให้เท่ากับวิชาศึกษาทั่วไป
วิชาบังคับนอกสาขา12หน่วยกิต นักศึกษาต้องศึกษากลุ่มวิชาต่อไปนี้ • MA 216: ดิฟเฟอเรนเทียล และอินทิกรัลแคลคูลัส 1 และ ST 216: สถิติสำหรับนักสังคมศาสตร์ 1 • EL 241: ภาษาอังกฤษสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ 1 และ EL 341: ภาษาอังกฤษสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ 2
วิชาในสาขาเศรษฐศาสตร์ 56หน่วยกิต วิชาในสาขาเศรษฐศาสตร์แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่ 1. วิชาบังคับ และวิชาบังคับเลือก (20 หน่วยกิต) 2. วิชาเลือก (33หน่วยกิต) 3. วิชาสัมมนา (3หน่วยกิต) ต้องสอบได้ระดับเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00ในการศึกษาวิชา 3 กลุ่มข้างต้น
} เลือก 1 วิชา (3 หน่วยกิต) วิชาในสาขาเศรษฐศาสตร์ 56หน่วยกิต • วิชาบังคับ 20หน่วยกิต โดยจะต้องศึกษาวิชาต่อไปนี้ • EC 211: หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค 3หน่วยกิต EC 212: หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค 3 หน่วยกิต EC311: ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค 4หน่วยกิต EC312: ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาค 4หน่วยกิต EC320หรือ EC 421: คณิตเศรษฐศาสตร์ EC325หรือ EC 425: เศรษฐมิติ EC460: เศรษฐกิจประเทศไทย 3 หน่วยกิต ต้องสอบวิชา EC 311 หรือEC 312 ได้ไม่ต่ำกว่าระดับ C
วิชาในสาขาเศรษฐศาสตร์ 56หน่วยกิต(P.67 – 72) • วิชาเลือก 33หน่วยกิต จะต้องเลือกศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ในระดับ 400 ไม่น้อยกว่า24 หน่วยกิต (8 วิชา) (ทั้งนี้ไม่นับรวมวิชาบังคับ 20 หน่วยกิตในข้อ 1 และวิชาสัมมนาในข้อ 3 ที่จะกล่าวต่อไป) คณะเศรษฐศาสตร์แบ่งหมวดของสาขาทั้งสิ้น 10 หมวด จากหมวด 0ถึงหมวด 9โดยนักศึกษาสามารถทราบได้ว่าวิชาต่าง ๆ อยู่หมวดใดโดยดูเลขหลักสิบของวิชาดังกล่าว เช่น ศ.431เป็นวิชาระดับ 400 อยู่ในหมวด 3 เป็นต้น โดยเลขหมวดแต่ละหมวดมีความหมายดังนี้
หมวดต่าง ๆ ในคณะเศรษฐศาสตร์ หมวด 5เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ หมวด 6เศรษฐศาสตร์การพัฒนา หมวด 7เศรษฐศาสตร์ทรัพยากร - ทรัพยากรมนุษย์ - ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม หมวด 8เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม หมวด 9เศรษฐศาสตร์การเกษตร หมวด 0เศรษฐศาสตร์การเมือง และ ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ หมวด 1ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ หมวด 2เศรษฐศาสตร์ปริมาณ - คณิตเศรษฐศาสตร์ - เศรษฐมิติ หมวด 3เศรษฐศาสตร์การเงิน หมวด 4เศรษฐศาสตร์การคลัง
วิชาในสาขาเศรษฐศาสตร์ 56หน่วยกิต • วิชาสัมมนา 3หน่วยกิต นักศึกษาจะต้องเลือกวิชาสัมมนาในหมวดใดหมวดหนึ่ง โดยต้องผ่านวิชาบังคับก่อนที่เป็นเงื่อนไขระบุไว้ในวิชาสัมมนาของหมวดนั้น ๆ
วิชาโท 24หน่วยกิต นักศึกษาเลือกตามรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งต่อไปนี้ 1. นักศึกษาอาจเลือกศึกษาสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นวิชาโท โดยศึกษาตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของหลักสูตรวิชาโทของสาขาวิชานั้น ๆ 2. นักศึกษาเลือกศึกษาวิชาอื่น ๆ นอกคณะแต่ไม่เกิน 2 สาขาวิชา
วิชาโท 24 หน่วยกิต 3. เลือกจากกลุ่มวิชาใดวิชาหนึ่งตามที่คณะกำหนด ได้แก่ • กลุ่มวิชาด้านธุรกิจ • กลุ่มวิชาด้านทรัพยากรมนุษย์ • กลุ่มวิชาด้านพัฒนาการสังคม • กลุ่มวิชาญี่ปุ่นศึกษา • กลุ่มวิชาจีนศึกษา
วิชาเลือกเสรี 15หน่วยกิต นักศึกษาอาจเลือกศึกษาวิชาใดก็ได้ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน 15 หน่วยกิต
เงื่อนไขที่สำคัญ 1. วิชาในสาขาเศรษฐสาสตร์ (56 หน่วยกิต) ต้องได้คะแนนเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 2.00 2 ศ. 311 และ ศ. 312 วิชาใดวิชาหนึ่งต้องได้เกรดไม่ต่ำกว่า C 3. ในวิชาเฉพาะเลือกและวิชาเลือกเสรีจะมีวิชาในคณะเศรษฐศาสตร์ในระดับ 200 รวมกันได้ไม่เกิน 12 หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไป 30หน่วยกิต • ส่วนที่ 1: หลักสูตรกลางของมหาวิทยาลัย 21หน่วยกิต • TU 110: Integrated Humanity • TU120:Integrated Social Science • TU130: Integrated Science and Technology • EL 171: English Course 2 • EL172: English Course 3 • TH 161: Thai Usage 1 • TU 152: Fundamental Mathematics
วิชาศึกษาทั่วไป 30หน่วยกิต • ส่วนที่ 2: เลือก 9 หน่วยกิตจากวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัย หรือวิชาเบื้องต้นอื่น ๆ ที่คณะต่าง ๆ เสนอ และทางมหาวิทยาลัยเทียบให้เท่ากับวิชาศึกษาทั่วไป (P. 82-86)
การจัดตารางสอน 1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเนื้อหาวิชา คาบเวลาเรียน (Section)และตารางสอบของแต่ละวิชา - ศึกษาจากเอกสารหลักสูตร และ CD ที่สำนักทะเบียนแจกให้ - ตารางสอนและ ตารางสอบดูจาก websiteของสำนักทะเบียนที่ www.regofc.tu.ac.th
การจัดตารางสอน(P.108 - 113) 2. จัดตารางเรียนพร้อมตารางสอบทั้ง 2 ภาค พร้อมๆ กัน (ประมาณ 12 วิชา) โดย 2.1 ลงวิชาที่ได้รับการจัดสรรโควต้า และกำหนด Section ที่แน่นอนมาแล้ว EL171, EL172, TH161,และ EC 211 2.2 ลงวิชาศึกษาทั่วไปที่ทุกคนต้องเรียน ได้แก่ TU110, TU120, TU130,และ TU152 2.3 ลงวิชาศึกษาทั่วไปส่วนที่ 2 ซึ่งเป็นวิชาเลือก 3 วิชา BA291, TU113, HO201 2.4 นักศึกษาที่ได้ ACC ในวิชา EL171และ/หรือEL172สามารถเรียนวิชา อื่น ๆ ตามโครงสร้างหลักสูตรต่อไปได้เลย 2.5MA216หรือ วิชาโท 1 วิชาหรือวิชาเลือกเสรี 1 วิชา
TU 120 11 ต.ค. บ่าย EL 171 9 ต.ค. บ่าย TH161 5 ต.ค. เช้า TU110(SEC 8700, เรียนเฉพาะศุกร์) 12 ต.ค. บ่าย ตัวอย่างตารางสอน ภาค 1/2549 (P.110)
TU 130 3 มี.ค. บ่าย EL 172 27 ก.พ. บ่าย EC 211 26 ก.พ. บ่าย ตัวอย่างตารางสอน ภาค 2/2549
TU 120 11 ต.ค. บ่าย EL 171 9 ต.ค. บ่าย TH161 5 ต.ค. เช้า TU110(SEC 8700, เรียนเฉพาะศุกร์) 12 ต.ค. บ่าย ตัวอย่างตารางสอน ภาค 1/2549 (P.110) BA 291 17 ต.ค.บ่าย TU 152 5 ต.ค. เช้า
TU 130 3 มี.ค. บ่าย EL 172 27 ก.พ. บ่าย EC 211 26 ก.พ. บ่าย ตัวอย่างตารางสอน ภาค 2/2549 HO 201 1 มี.ค. บ่าย TU113(SEC 4500, เรียนเฉพาะอังคาร) 3 มี.ค. เช้า MA 216 7 มี.ค. เช้า