1.6k likes | 1.86k Views
ระบบสารสนเทศ. Information System. ภาพรวมของระบบสารสนเทศ. หลักการและแนวคิดในการใช้ ระบบสารสนเทศ. Information is POWER. www.puvadon.cjb.net. 4. 5. สารสนเทศเพื่อการบริหาร . เทคโนโลยีสารสนเทศ. Contents. 1. หน้าที่และบทบาทของผู้บริหารองค์กร. 2. ข้อพึงมีสำหรับความสำเร็จในการบริหารจัดการ.
E N D
ระบบสารสนเทศ Information System
ภาพรวมของระบบสารสนเทศภาพรวมของระบบสารสนเทศ
หลักการและแนวคิดในการใช้ ระบบสารสนเทศ Information isPOWER www.puvadon.cjb.net
4 5 สารสนเทศเพื่อการบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศ Contents 1 หน้าที่และบทบาทของผู้บริหารองค์กร 2 ข้อพึงมีสำหรับความสำเร็จในการบริหารจัดการ 3 ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ
บทนำ • เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในขององค์กร • การลดต้นทุนหรือการเพิ่มคุณภาพในการผลิต โดยการนำระบบอัตโนมัติมาใช้ในงานที่ต้องใช้แรงงาน • งานของผู้บริหารมีลักษณะเปลี่ยนไปตลอดเวลาตามสภาพแวดล้อม
1. หน้าที่และบทบาทของผู้บริหารองค์กร • กำหนดความต้องการสารสนเทศของผู้บริหาร • มินช์ เบอร์ก อธิบายว่า งานอันได้แก่ การติดตาม (Monitor) การตรวจสอบ (Audit) การให้คำปรึกษาแนะนำ (Consult) สมควรเป็นผู้บริหารเพียงไม่กี่คน • “ผู้บริหารมักทำสิ่งต่างๆ ให้ลุล่วงได้โดยอาศัยผู้อื่น” • การจัดการเป็นองค์ความรู้ เป็นความสามารถและทักษะที่สามารถเรียนรู้กันได้ • ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของผู้บริหารและขององค์กร คือ การปฏิบัติของผู้บริหาร ผนวกกับ ความรู้ บุคลิก ลักษณะ ทักษะ และประสบการณ์ • ลักษณะต่างๆ ที่ผู้บริหารควรมี
2. ข้อพึงมีสำหรับความสำเร็จในการบริหารจัดการ • ทักษะการจัดการ ผู้บริหารจะสามารถทำงานได้โดยอาศัยทีมงานและทักษะในการสื่อสารที่ดี ทั้งการพูดและการเขียนตลอดจนต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรม และแรงบันดาลใจของมนุษย์อย่างลึกซึ้ง • บุคลิกภาพการจัดการ คุณสมบัติสำคัญของผู้บริหารมีความฝัน ทะเยอทะยาน แรงบันดาลใจ ความรู้เกี่ยวกับงาน ผลผลิตและการบริการ ความคิดสร้างสรรค์ การมีวินัยตนเอง การจัดการ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทำให้ผู้บริหารต้องปรับตัวตลอดเวลา
การศึกษาและความรู้ด้านการจัดการการศึกษาและความรู้ด้านการจัดการ หลักสูตรการจัดการควรประกอบด้วยความรู้หลาย ๆ ด้าน ได้แก่ องค์กร งบประมาณและการเงิน สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ เศรษฐกิจและกิจการปัจจุบัน กฎหมายและกรอบระเบียบข้อบังคับ การวางแผน
การศึกษาและความรู้ด้านการจัดการการศึกษาและความรู้ด้านการจัดการ หลักสูตรการจัดการควรประกอบด้วยความรู้หลาย ๆ ด้าน ได้แก่ การวัดผลงาน การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการการดำเนินงาน การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก การตลาดและการจำหน่าย วิธีวิเคราะห์และเชิงปริมาณ การกำหนดโครงการ
ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ การจัดการผู้ปฏิบัติงานให้เป็นทีมสร้างผลงานหรือแผนกต่างๆ ทำงานเป็นทีมเพื่อให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทำให้ทุกคนมีความรู้สึกร่วมกัน การพัฒนาคน ลักษณะขององค์กรที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะประสบผลสำเร็จได้ต้องมีการพัฒนา มันวัตกรรมใหม่ๆและมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการตลอดเวลา สร้างและรักษามาตรฐาน ผู้บริหารจะต้องกำหนดมาตรฐานเชิงคุณธรรม เช่น ความซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา
ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ • กำหนดระดับผลงานและติดตามผล ผู้บริหารจะต้องกำหนดให้ชัดเจนพฤติกรรมใดเป็นที่ยอมรับ ถ้ามีพฤตืกรรมเบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานจะต้องหยุดพฤติกรรมเหล่านั้น • ให้วิสัยทัศน์ ผู้บริหารจะต้องมีวิสัยทัศน์กำหนดอนาคตขององค์กร ใช้แรงกระตุ้นอย่างไรเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ • ป้องกันและหยุดความขัดแย้ง ความขัดแย้งในองค์กรอาจไม่ชอบเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงาน ต้องคาดเดาความขัดแย้ง มีทักษะ ประนีประนอมเพื่อแก้ไขสถานการณ์ • นำคนที่เกี่ยวข้องในองค์กร ต้องมความเป็นผู้นำ
ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ กระตุ้นผู้อื่น ผู้บริหารต้องสร้างแรงกระจุ้นให้แก่พนักงาน จัดการความเปลี่ยนแปลง องค์กรส่วนใหญ่อยู่ในสภาพการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ต้องสามารถจัดการเปลี่ยนแปลงได้และทำให้ทุกคนตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง การจัดการสภาวะวิกฤต จะต้องรักษาความเชื่อมั่นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้ ต้องสามารถบรรเทาปัญหาความขัดแย้ง การประนีประนอม มีความสามารถในการประนีปรานอมผู้ที่อยู่ภายในองค์กร การตัดสินใจ การวางแผน ความมีวินัยและจัดการกับปัญหาเหล่านั้นได้อย่างยุติธรรม การแบ่งปันทรัพยากรและงบประมาณ
ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ • การตัดสินใจ ผู้บริหารต้องกล้าตัดสินใจ • การวางแผน ต้องเริ่มและพัฒนาแผนกลยุทธ์ • ความมีวินัยและความทุกข์ ผู้บริหารจะต้องมีนโยบายกับเรื่องที่ขัดต่อวินัย และเรื่องที่ทำให้เกิดความไม่เป็นสุขในองค์กรด้วยจัดการกับปัญหาเหล่านั้นได้อย่างยุติธรรม • การแบ่งปันทรัพยากรและงบประมาณ ผู้บริหารต้องสามารถจัดการทรัพยากรทั้งหมดเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่สุด ไม่ว่าจะเป็นบุคลากร การผลิต ผลงาน การลงทุน การจัดการและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ
องค์ประกอบระบบสารสนเทศ องค์ประกอบระบบสารสนเทศ Technology Information System • Organization Management MIS for Admin
สารสนเทศเพื่อการบริหาร สารสนเทศเพื่อการบริหาร องค์ประกอบสำคัญภายในองค์กรที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ • กลยุทธ์ (Strategy) คือการกำหนดนโยบาย แนวทาง เป้าหมายในการดำเนินงานขององค์กร เพื่อให้ทุกหน่วยงานมองเห็นเป้าหมายเดียวกัน • กฎเกณฑ์ (Rules) หมายถึง ข้อกำหนดในการดำเนินงานสู่เป้าหมายขององค์กร • ขั้นตอน (Procedures) หมายถึง วิธีการดำเนินงานตามข้อกำหนดที่ตั้งขึ้น เพื่อบรรลุเป้าหมายในภาพรวมขององค์กร
ระบบสารสนเทศที่ดีควรประกอบด้วย ระบบสารสนเทศที่ดีควรประกอบด้วย • ซอฟท์แวร์ (Software) • ฮาร์ดแวร์(Hardware) • ฐานข้อมูล (Data base) • โทรคมนาคม (Telecommunication)
ระบบสารสนเทศ (Information System) ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ กลุ่มของระบบงานที่ประกอบไปด้วย ฮาร์ดแวร์ หรืออุปกรณ์ และซอฟท์แวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อการจัดการตัดสินใจและควบคุมการดำเนินงานภายในองค์กร นอกจากนี้ยังช่วยในการประสานงานขององค์ด้วย (Laudon C. Kennth and Jane P.Lundon., 1998) ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายประการหนึ่ง คือ การประมวลผลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน
Key Issues • ระบบสารสนเทศ • Transaction Processing Systems (TPS) • Management Information Systems (MIS) • Decision Support Systems (DSS) • Executive Information Systems (EIS) • Office Automation (OA) • Expert Systems (ES)
Information System - Classification By Support Function • 5-year sales trend • Profit Planning • 5-year budget forecasting • Product development • Sales Management • Inventory Control • Annual budget • Production Scheduling • Cost Analysis • Pricing Analysis Executive Support System Management Information System Decision Support System Intelligent Support Systems • Simulation • Pgm coding • System support • Word Processing • Desktop Publishing Knowledge Management System Office Automation System • Order Processing • Fulfillment • Material Movement • A/R, A/P, GL • Payroll • POS Transaction Processing System
สารสนเทศ สารสนเทศ(information) หมายถึงการนำข้อมูลที่ตรงกับความต้องการ (Raw data)ไม่ว่าจะเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข รูปภาพ และอื่นๆ ไปประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการที่เรียกว่า สารสนเทศ ที่ผู้ใช้สามารถนำไปช่วยในการตัดสินใจ การวางแผนกำหนดนโยบาย การจัดการขององค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ถูกต้องและรวดเร็ว
คุณสมบัติของสารสนเทศสำหรับผู้บริหารคุณสมบัติของสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ใช้งานง่าย ความถูกต้องชัดเจน ความทันต่อการใช้งาน ความสมบูรณ์ครบถ้วนและมีคุณสมบัติเชิงปริมาณพอเพียง ความกระทัดรัดชัดเจน โครงสร้างของระบบตรงกับความต้องการ ขยายระบบได้ ยอมรับได้ในทุกระดับ เป็นระบบอิสระไม่ผูกพันเทคโนโลยี สามารถตรวจสอบได้
ชนิดของสารสนเทศ • Structured • เป็นสารสนเทศรายละเอียด ปัจจุบัน เกี่ยวกับเหตการณ์ในอดีต บันทึกข้อเท็จจริงในช่วงเวลาสั้นๆ เป็นสารสนเทศภายในองค์กร • Semistructured • เป็นสารสนเทศทั้งแบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง. • Unstructured • เป็นรายงานสรุป สารสนเทศเกี่ยวกับเหตุการณในอนาคตบันทึกข้อเท็จจริงในระยะยาวเป็นสารสนเทศภายในและภายนอกองค์กร.
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ การสื่อสารโทรคมนาคม การจัดการฐานข้อมูล และเทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ (O’Brien, 2001) ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือ ระบบที่รวบรวม ประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อใช้ในการวางแผน การพัฒนาตัดสินใจ ประสานงานและควบคุมการดำเนินงาน
องค์ประกอบระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์องค์ประกอบระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer-Based Information Systems : CBIS) มีองค์ประกอบที่สำคัญ 5 ส่วนคือ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอร์ฟแวร์ (Software) • ฐานข้อมูล (Database) • เครือข่าย (Network) • กระบวนการ (Procedure) • คน (People)
บทบาทของนักบริหารและ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารสนเทศ • กำหนดสารสนเทศทีต้องการ(what) โดยพิจารณาจากลักษณะงาน หรือหน้าที่ของหน่วยงาน • พิจารณาเวลา (when) ที่ต้องใช้สารสนเทศนั้น เพื่อกำหนดเวลารวบรวม ประมวลผล จัดทำรายงาน • ทราบว่าจะหาสารสนเทศดังกล่าวได้ที่ไหน (where) จากแหล่งข้อมูลภายใน หรือภายนอก • เข้าใจว่าทำไม (why) จึงต้องมีสารสนเทศนั้น ทราบถึงสาเหตุในการเก็บรวบรวมข้อมูล
บทบาทของนักบริหารและ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารสนเทศ • ทราบว่าผู้ใช้สารสนเทศคือใคร(for whom) เพื่อจะได้จัดทำรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสม • จะใช้เครื่องมืออะไร(how) ในการเก็บรวบรวม ประมวล รักษาสารสนเทศ • สามารถเข้าใจความหมายของสารสนเทศที่หามาได้ • สามารถดำเนินการหรือปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม • ใช้สารสนเทศอย่างถูกต้องตามกฎหมายและอย่างมีจริยธรรม
แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ การศึกษาเรื่องระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จำเป็นต้องอาศัยความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนั้นระบบสารสนเทศจึงมีลักษณะเป็น สหวิทยาการ (multidisciplinary) ดังนั้น จึงแบ่งการศึกษาระบบสารสนเทศออกเป็น 3 แนวทางคือ (Laudon, 1999) • แนวทางด้านเทคนิค (Technical Approach) • แนวทางด้านพฤติกรรม (Behavioral Approach) • แนวทางการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีและสังคม (Sociotechnical Systems)
แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ แนวทางด้านเทคนิค Technical Approach คอมพิวเตอร์ Computer science วิจัยเชิงปฏิบัติการ Operation Research MIS วิทยาการการจัดการ Management Science องค์การ Organization จิตวิทยา Psychology สังคมวิทยา Sociology แนวทางด้านพฤติกรรม Behavioral Approach
แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ แนวทางด้านเทคนิคเน้นเรื่องเทคโนโลยีด้านกายภาพ และความสามารถในด้านเทคนิคของระบบ ความรู้ที่ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่ • วิทยาการจัดการ »เน้นเรื่องการพัฒนาโมเดลในการตัดสินใจและการจัดการ • Computer Science »สนใจการสร้างทฤษฎีและวิธีการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิธีเก็บรวบรวมและการเข้าถึงข้อมูล • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ »เน้นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุด ในการบริหาร การทำงาน
แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ แนวทางด้านพฤติกรรม เน้นที่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรมการบริหาร รวมทั้งนโยบายองค์กร ความรู้ที่ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่ • วิชาองค์กรและการจัดการ »ช่วยในการพิจารณาว่ากลุ่มหรือองค์กรจะพัฒนาระบบอย่างไร และระบบนั้นจะมีผลต่อบุคคลอย่างไร • วิชาจิตวิทยา »ช่วยศึกษาพฤติกรรมของคนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีในองค์การ • สังคมวิทยา »เป็นเรื่องผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อกลุ่ม องค์การ และสังคม
แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ แนวทางการผสมผสานด้านเทคนิคและสังคม แนวคิดนี้เป็นการผสมผสานแนวคิดด้านเทคนิคและพฤติกรรมเข้าด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดดุลยภาพระหว่างความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพของการทำงาน แนวคิดนี้ เชื่อว่าองค์กรมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ประการ คือ งาน คน โครงสร้าง และเทคโนโลยี หากมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหนึ่งจะส่งผลต่อปัจจัยอื่น ๆ ด้วย
ประโยชน์ของสารสนเทศ สารสนเทศที่ดีมีประโยชน์ในด้านต่อไปนี้ • ประสิทธิภาพ (Efficiency) • ประสิทธิผล (Effectiveness) • ความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) • คุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of Working Life)
ประโยชน์ของสารสนเทศ ประสิทธิภาพ (Efficiency) • ระบบสารสนเทศทำให้การปฏิบัติงานมีความรวดเร็ว • ระบบสารสนเทศช่วยในการเข้าถึงข้อมูลขนาดใหญ่ได้อย่างรวดเร็ว • ระบบสารสนเทศช่วยให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว • ช่วยลดต้นทุน • ช่วยให้การประสานงานระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เป็นไปได้ด้วยดี
ประโยชน์ของสารสนเทศ ประสิทธิผล (Effectiveness) • ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ ส่งผลให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้ • ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลิตสินค้า/บริการที่เหมาะสม • ระบบสารสนเทศช่วยในการปรับปรุงคุณภาพของสินค้า/บริการให้ดีขึ้น, ทำได้ถูกต้องและรวดเร็วขึ้น, ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้ดีขึ้น
ประโยชน์ของสารสนเทศ ความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) มีการนำสารสนเทศมาใช้และทำให้เกิดการบริหาร/จัดการงานแบบใหม่ เช่น Supply Chain Management, Good Governance, Customer Relationship Management-CRM, E-Business, E-Government, E-commerce, Re-engineering, Knowledge Management, Virtual Organization เป็นต้น
ประโยชน์ของสารสนเทศ คุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of Working Life) เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดเครื่องมือการทำงานแบบใหม่ เช่น Internet, E-mail, Hand phoneและทำให้เกิดการทำงานรูปแบบใหม่ ๆ เช่น ระบบ Tele/Video Conferencing, Electronic Data Interchange, Virtual Organizationเป็นต้น ซึ่งทำให้ประหยัดทรัพยากร และเพิ่มคุณภาพการเป็นอยู่ของคนได้
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศ กับองค์กรและการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เป็นเรื่องการออกแบบและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์ประมีประสิทธิผล โดยจะต้องเข้าใจถึงสิ่งแวดล้อม โครงสร้างหน้าที่การทำงาน วัฒนธรรม การเมือง ภายในองค์การ ตลอดจนบทบาทของผู้บริหารและระบบการตัดสินใจ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ในระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ ฐานความรู้ถือเป็นทรัพย์สินที่มีความสำคัญขององค์การ การแข่งขันด้านธุรกิจต้องอาศัยความรู้ในด้านกระบวนการต่าง ๆ ดังนั้น ทฤษฎีการจัดการบางทฤษฎีจึงเชื่อว่า ทรัพย์สินทางความรู้มีความสำคัญต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและความอยู่รอดขององค์การมากกว่าทรัพย์สินทางกายภาพและทรัพย์สินทางการเงิน (Laudon, Laudon, 2002)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ความรู้ คือสารสนเทศที่มีคุณค่ามากที่สุด เพราะเป็นสารสนเทศที่ผสมผสานเข้ากับประสบการณ์ วิจารณญาณ และปัญญาของคนเข้าไปด้วย ความรู้จำแนกเป็นสองประเภทคือ • ความรู้แบบไม่ชัดแจ้ง (Tacit Knowledge) คือ ความรู้ที่มีเนื้อหาเฉพาะเจาะจง ยากที่จะสื่อสารให้คนอื่นทราบหรือเข้าใจได้ง่าย ต้องอาศัยทักษะในการฝึกฝน เช่น การว่ายน้ำ การขี่จักรยาน เป็นต้น • ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) คือความรู้ที่สามารถรวบรวม จัดระบบ และถ่ายทอดโดยใช้ IT ได้ เช่น ความรู้ที่ได้จากหนังสือหรือตำราต่าง ๆ เป็นต้น
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การจัดการความรู้ คือ กระบวนการที่สำคัญในการสร้าง จัดระบบ และถ่ายทอดความรู้อย่างทั่วถึงภายในองค์กร เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน หรือทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากขึ้น องค์ประกอบของ Knowledge Management มีดังนี้ • การสร้างความรู้ • การจัดระบบความรู้ • การถ่ายทอดความรู้
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การสร้างความรู้ คือ การแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นในองค์กร โดยผ่านกลไก การเรียนรู้ อาทิ การวิจัยและพัฒนา การร่วมกันแก้ไขปัญหา, การพัฒนาเครือข่าย, หรือการพัฒนาผ่านเครือข่ายเป็นต้น การจัดระบบความรู้ เมื่อความรู้ได้สร้างขึ้นแล้ว จะมีกระบวนการต่อเนื่องในการจัดระบบความรู้ รวมถึงการแสดงความรู้ในลักษณะที่ง่ายต่อการเข้าถึงหรือถ่ายโอน การถ่ายทอดความรู้ คือ การนำความรู้ที่มีอยู่ถ่ายทอดไปยังบุคคลอื่น หรือหน่วยงานอื่น เช่นการใช้เครือข่ายในองค์กร หรือการใช้ซอร์ฟแวร์สำหรับทำงานเป็นกลุ่ม
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เฮอร์ไชม์ (Hirscheim, 1985) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำแนกได้ 3 กลุ่มคือ • กลุ่มที่มองผลกระทบในด้านบวก (optimism) • กลุ่มที่มองผลกระทบในด้านลบ (Pessimisms) • กลุ่มที่มองผลกระทบในลักษณะสัมพันธ์ (Relativism)
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวคิดที่มองในด้านบวก • แนวคิดนี้ซึมลึกอยู่ในวัฒนธรรมของอเมริกัน โดยมีสมมติฐานว่า ITไม่ควรได้รับการปฏิเสธไม่ว่าภายใต้สถานการณ์ใด ๆ แต่ควรจะมีการนำไปใช้อย่างแพร่หลายและรวดเร็ว • แนวคิดนี้เชื่อว่า ITเป็นยาสารพัดโรคที่แก้ปัญหาทุกอย่างได้ • แนวคิดนี้เชื่อว่า ITมีลักษณะเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ในการควบคุมกระบวนการทำงานภายในองค์กร • แนวคิดนี้เชื่อว่า ITจะนำไปสู่การจ้างงานเพิ่มขึ้น, ทำให้มีการกระจายอำนาจมากขึ้น, ทำให้การติดต่อสื่อสารดีขึ้น, ช่วยเพิ่มผลผลิต
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวคิดที่มองในด้านลบ • แนวคิดนี้มองว่า องค์กรประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีความขัดแย้ง และกลุ่มที่มีอำนาจเหนือกว่าจะนำ ITเข้ามาใช้ในการควบคุมการทำงาน • กลุ่มนี้มองว่า ITจะนำไปสู่การจ้างงานที่ลดลง, ทำให้มีการรวมศูนย์อำนาจมากขึ้น, ทำให้มีสารสนเทศมากเกินไป และไม่ได้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในผลผลิตที่แท้จริงแต่อย่างใด • กลุ่มนี้มองว่า ITทำให้การทำงานเป็นลักษณะประจำ, น่าเบื่อ, ทำให้ความพอใจและคุณภาพชีวิตการทำงานลดลง • กลุ่มนี้มองว่า ITทำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ,สังคม ฯลฯ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวคิดเชิงสัมพันธ์ • กลุ่มนี้มองว่า IT จะเป็นตัวแปรแทรกระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างคนและองค์การ • กลุ่มนี้มองว่า ITจะเป็นบวกหรือลบขึ้นอยู่กับการสร้างและการใช้เทคโนโลยี • กลุ่มนี้มองว่า การออกแบบ IT ที่ดี คือ การสร้างดุลยภาพระหว่างความพอใจของผู้ใช้และประสิทธิภาพด้านเทคนิค การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ที่ดีไม่เพียงแต่ช่วยให้งานประสบความสำเร็จ แต่ยังช่วยให้คนมีความพอใจในการทำงานเพิ่มขึ้นด้วย
What is Enterprise Computing? Next What is an enterprise? เป็นองค์กรขนาดใหญ่ เช่น multinational corporation, university, hospital, research laboratory, or government organization ต้องการการคำนวณในการแก้ปัญหาเนื่องจากมีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก Enterprise computing—ใช้คอมพิวเตอร์ระบบเครือข่าย ที่มีระบบการทำงานที่แตกต่างกันของระบบปฏิบัติการ โปรโตคอล และสถาปัตยกรรมเครือข่าย p. 714
What is Enterprise Computing? Next • การไหลของสารสนเทศในองค์กรขนาดใหญ่? • องค์กรขนาดใหญ่จะมีการจัดการขอมูลจำนวนมากที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกันในกลุ่มหรือนอกกลุ่มเครือข่าย p. 714 Fig. 14-1
What is Enterprise Computing? Next What are the four categories of users? Executive managementstrategic decisions Middle managementtactical decisions Operational managementoperational decisions Nonmanagement employeeson-the-job decisions p. 717
What is Enterprise Computing? Next What is enterprise information? Information ช่วยในการดำเนินงานขององค์กร รวบรวม ผสาน และวิเคราะห์ข้อมูลทันเวลา ช่วยในการตัดสินใจที่ดีกว่า p. 718
ระดับปฏิบัติการ (Operational Level)( Lower Manager) • เป็นการปฏิบัติงานประจำ กิจกรรมในการทำงานแต่ละวันกับลูกค้า • ดูแลและควบคุมการทำงานในการปฏิบัติงาน • การตัดสินใจ (Operational Decision) • เป็นแบบมีโครงสร้าง • การทำงานซ้ำๆ • ระบบสารสนเทศ (Information system) • กิจกรรมที่มีรูปแบบซ้ำๆกัน • มีการตรวจสอบมีประสิทธิภาพการทำงานกับลูกค้า