290 likes | 996 Views
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น ครั้งที่ 3 15 พฤศจิกายน 2545. การบริโภค (Consumption). ทฤษฎีการกำหนดรายได้ประชาชาติของ Keynes. GDP = C + I + G + X-M AD = C + I + G + X-M โดยที่ AD = Aggregate Demand หรือ อุปสงค์มวลรวม Actual Aggregate Expenditure คือ รายจ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นจริง
E N D
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้นครั้งที่ 315 พฤศจิกายน 2545 การบริโภค (Consumption)
ทฤษฎีการกำหนดรายได้ประชาชาติของ Keynes GDP = C + I + G + X-M AD = C + I + G + X-M โดยที่ AD = Aggregate Demand หรือ อุปสงค์มวลรวม Actual Aggregate Expenditure คือ รายจ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นจริง Desired Aggregate Expenditure คือ ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม หรือความต้องการจะใช้จ่ายของภาคเศรษฐกิจต่างๆ AAEจะเท่ากับ DAE หรือไม่ก็ได้
พฤติกรรมการบริโภค และการออม ครัวเรือน ปัจจัยการผลิต รายได้ การบริโภค (consumption) การออม (Saving)
ปัจจัยกำหนดการบริโภคมวลรวมและการออมมวลรวมปัจจัยกำหนดการบริโภคมวลรวมและการออมมวลรวม • รายได้ที่ใช้จ่ายได้ (Disposable Income : DI) หรือ Yd • รายได้มาก ความสามารถการออมและการบริโภคมาก • รายได้ลดลง ความสามารถการออมและการบริโภคลดลง • การเปลี่ยนแปลงในอัตราภาษี • อัตราภาษีเพิ่ม ความสามารถการออมและการบริโภคลดลง • อัตราภาษีลดลง ความสามารถการออมและการบริโภคเพิ่มขึ้น
ปัจจัยกำหนดการบริโภคมวลรวมและการออมมวลรวมปัจจัยกำหนดการบริโภคมวลรวมและการออมมวลรวม • สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย • การจ่ายเงินดาวน์ต่ำและอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อต่ำ การบริโภคเพิ่มขึ้น • อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ต่ำ การบริโภคเพิ่มขึ้น • อัตราดอกเบี้ยเงินฝากสูง การบริโภคลดลง การออมเพิ่มขึ้น • สินทรัพย์ของผู้บริโภค • สินทรัพย์สภาพคล่องมาก การบริโภคมาก การออมน้อย • สินทรัพย์คงทนถาวร การบริโภคลดลงชั่วระยะเวลาหนึ่ง • สินทรัพย์คงทนถาวร การบริโภคสินค้าทดแทนกันได้ลดลง การบริโภคสินค้าประกอบกันเพิ่มขึ้น
ปัจจัยกำหนดการบริโภคมวลรวมและการออมมวลรวมปัจจัยกำหนดการบริโภคมวลรวมและการออมมวลรวม • การคาดคะเนของผู้บริโภค • รายได้เพิ่มขึ้น การบริโภคเพิ่มขึ้น การออมลดลง • ราคาสินค้าในอนาคตลดลง การบริโภคในปัจจุบันลดลง การออมเพิ่มขึ้น • ปริมาณสินค้าในตลาดลดลง การบริโภคในปัจจุบันเพิ่มขึ้น การออมลดลง • หนี้สินของผู้บริโภคในปัจจุบัน • หนี้สินมาก การบริโภคลด การออมเพิ่ม • ไม่มีหนี้สิน การบริโภคเพิ่มขึ้นได้
ปัจจัยกำหนดการบริโภคมวลรวมและการออมมวลรวมปัจจัยกำหนดการบริโภคมวลรวมและการออมมวลรวม • ความรู้สึกของสังคมเกี่ยวกับการประหยัด • สังคมที่มีการเลียนแบบการบริโภคสูง ความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น • สังคมมัธยัสถ์ การออมมากขึ้น การบริโภคลดลง • จำนวนประชากรและโครงสร้างประชากร • ประชากรเพิ่ม การบริโภคเพิ่มขึ้น • โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลง มีผลต่อประเภทการบริโภค • อุปนิสัย และวัยของประชากร
สมการการบริโภค C = f (Yd, t, I, A, E, L, So, pop …..) S = f (Yd, t, I, A, E, L, So, pop …..) ถ้ากำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ นอกเหนือจากรายจ่ายในการบริโภค และเงินที่ได้จากการใช้จ่าย แล้ว สมการการบริโภค จะเป็น C = f (Yd) S = f (Yd)
APC : Average Propensity to Consumeความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค หมายถึง อัตราส่วนระหว่างค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภค กับ รายได้ APC = C Y ค่า APC แสดงให้รู้ว่า ณ ระดับรายได้ต่างๆ นั้น การบริโภคมีสัดส่วนเป็นเท่าไร
C Y MPC : Marginal Propensity to Consumeความโน้มเอียงการบริโภคหน่วยสุดท้าย หมายถึง อัตราส่วนระหว่างการเปลี่ยนแปลงในการบริโภค กับ การเปลี่ยนแปลงของรายได้ MPC = ค่า MPCแสดงให้รู้ว่า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ การบริโภคจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าไร ถ้า MPC = 0.8หมายถึง รายได้เปลี่ยนแปลงไป 1 บาท การบริโภคเปลี่ยนแปลงไป 0.8 บาท
S Y APS : Average Propensity to Saveความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม หมายถึง อัตราส่วนระหว่างการออม กับ รายได้ APS = ค่า APSแสดงให้รู้ว่า ณ ระดับรายได้ต่างๆ นั้น การออมมีสัดส่วนเป็นเท่าไร
S Y MPS : Marginal Propensity to Saveความโน้มเอียงการออมหน่วยสุดท้าย หมายถึง อัตราส่วนระหว่างการเปลี่ยนแปลงในการออม กับ การเปลี่ยนแปลงของรายได้ MPS = ค่า MPSแสดงให้รู้ว่า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ การออม จะเปลี่ยนแปลงไปเท่าไร ถ้า MPS = 0.6หมายถึง รายได้เปลี่ยนแปลงไป 1 บาท การออมเปลี่ยนแปลงไป 0.6 บาท
Keynesian Consumption Function C = Ca + bYd โดยที่ C = ความต้องการบริโภคมวลรวม Ca= intercept บนแกนตั้ง b = slope Yd = รายได้ที่ใช้จ่ายได้
C Ca O Keynesian Consumption Function การบริโภค (C) รายได้ที่ใช้จ่ายได้ (Yd)
ลักษณะสำคัญของ Consumption function • Ca > 0 เพราะเป็นระดับการบริโภคที่พอยังชีพอยู่ได้ • ค่า b = MPC = slope ของเส้นการบริโภคซึ่งมีค่าคงที่ (stable) และมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1ค่า MPS = slope ของเส้นการออมซึ่งมีค่าคงที่ (stable) และมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 (0 < MPS < 1) • MPC + MPS = 1 เสมอ • APC + APS = 1 เสมอ • เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น APS จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น APC จะลดลง
C E break-even point B A Ca C=Yd break-even income 45 O Y0 Y2 เส้นการบริโภค C=Yd C APC<1 APC>1 Yd Y1
เส้นการบริโภคและเส้นการออมเส้นการบริโภคและเส้นการออม C=Yd C C= Ca+b Yd E break-even point APC<1 B APC=1 APC>1 A Ca APS>0 D Sa = -Ca (dissaving) G S=0 break-even income O 45 Yd Y0 Y1 Y2 APS=0 Sa APS<0
ตัวอย่างการคำนวณการบริโภค การออม กำหนดให้ MPC = 0.6 ถ้ารายได้ที่ใช้จ่ายได้เท่ากับ 0 และการบริโภคเท่ากับ 100 • หารายได้ที่จุดเสมอตัว • หาค่าการบริโภคและการออม • ค่า APC และ APS ณ ระดับรายได้ที่ใช้จ่ายได้ = 500 ล้านบาท
กำหนดให้ MPC = 0.6ถ้ารายได้ที่ใช้จ่ายได้เท่ากับ 0 และการบริโภคเท่ากับ 100 หารายได้ที่จุดเสมอตัว สมการการบริโภค C = 100+ 0.6 Yd ณ ระดับรายได้ที่จุดเสมอตัว (Break even point) C = Yd ดังนั้น Yd= 100+ 0.6 Yd (Yd - 0.6Yd) = 100 Yd= (100 / 0.4) = 250 ระดับรายได้ที่จุดเสมอตัว (Break even point)= 250
กำหนดให้ MPC = 0.6ถ้ารายได้ที่ใช้จ่ายได้เท่ากับ 0 และการบริโภคเท่ากับ 100 หาค่าการบริโภคและการออม ณ ระดับรายได้ = 500 สมการการบริโภค C = 100+ 0.6 Yd Yd = 500 ดังนั้น C = 100+ 0.6 (500) = 400 การออม S = Yd – C = 500 – 400 = 100 การบริโภค = 400การออม = 100
กำหนดให้ MPC = 0.6ถ้ารายได้ที่ใช้จ่ายได้เท่ากับ 0 และการบริโภคเท่ากับ 100 หาค่า APC และ APS ณ ระดับรายได้ = 500 APC = C = 400 Y 500 = 0.80 APS = S = 100 Y 500 = 0.20
การเปลี่ยนแปลงของการบริโภคมวลรวม และการออมมวลรวม • การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการบริโภคและการออม • การเปลี่ยนแปลงในรายได้ที่ใช้จ่ายได้ • C และ S จะเลื่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบนเส้น C และ S เส้นเดิม
C,S C C2 C1 S 0 Y Y1 Y2 การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการบริโภคและการออม S2 S1
การเปลี่ยนแปลงของการบริโภคมวลรวม และการออมมวลรวม • การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการบริโภคและการออม • การเปลี่ยนแปลงในปัจจัยอื่นๆที่กำหนดการบริโภคและการออม (รายได้ไม่เปลี่ยน) • C และ S จะเคลื่อนขึ้น – ลงทั้งเส้นในทิศทางตรงกันข้าม • การเคลื่อนขึ้น – ลงของเส้นทั้ง 2 จะมีช่วงห่างจากเส้นเดิมในจำนวนที่เท่าๆ กัน
C,S C C2 C1 S 0 Y การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการบริโภคและการออม C’2 C’1 S’2 S’1 S2 S1 Y1 Y2