1 / 48

โดย รศ. สุรชัย ขวัญเมือง

สมรรถนะ ( Competency). นำเสนอ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 22 – 23 พ.ย. 50. โดย รศ. สุรชัย ขวัญเมือง . ประเด็นที่นำเสนอ. ความหมายของสมรรถนะ ที่มาของสมรรถนะ ประเภทของสมรรถนะ สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน. สมรรถนะหลัก ( Core Competency) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( Achievement Motivation)

ballard
Download Presentation

โดย รศ. สุรชัย ขวัญเมือง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สมรรถนะ (Competency) • นำเสนอ • มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา • 22 – 23 พ.ย. 50 โดย รศ. สุรชัย ขวัญเมือง

  2. ประเด็นที่นำเสนอ • ความหมายของสมรรถนะ • ที่มาของสมรรถนะ • ประเภทของสมรรถนะ • สมรรถนะหลัก • สมรรถนะประจำสายงาน • สมรรถนะหลัก (Core Competency) • การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) • การบริการที่ดี (Service Mind) • การพัฒนาตนเอง (Expertise) • การมีจริยธรรม (Integrity) • การสร้างทีมงาน (Teamwork)

  3. ประเด็นที่นำเสนอ • ความหมายของสมรรถนะ • ที่มาของสมรรถนะ • ประเภทของสมรรถนะ • สมรรถนะหลัก • สมรรถนะประจำสายงาน • สมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) • ความเป็นผู้นำ (Leadership) • ความคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic thinking) • การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision making) • วิสัยทัศน์ (Vision)

  4. แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ (Competency) คำจำกัดความของสมรรถนะ (Competency) • คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ทักษะ/ความสามารถและคุณลักษณะอื่น • ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร เป็นคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลซึ่งเป็นปัจจัยบ่งชี้ว่าบุคคลนั้นจะปฏิบัติงานได้อย่างโดดเด่นในงานหนึ่งๆ

  5. ที่มาของสมรรถนะ... (Iceberg Model) ส่วนที่มองเห็น ส่วนที่ซ่อนเร้น ความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมในอดีต การฝึกฝนปฏิบัติ องค์ความรู้ และ ทักษะต่างๆ บทบาททางสังคม (Social Role) ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image) อุปนิสัย (Traits) แรงผลักดันเบื้องลึก (Motives) ดัดแปลงจาก สำนักงาน ก.พ.

  6. ที่มาของสมรรถนะ... (Iceberg Model) ข้อมูลความรู้ที่บุคคลมีในสาขาต่างๆ ความเชี่ยวชาญ ชำนาญพิเศษ ในด้านต่างๆ องค์ความรู้ และ ทักษะต่างๆ บทบาทที่บุคคลแสดงออกต่อผู้อื่น ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับเอกลักษณ์และคุณค่าของตน บทบาททางสังคม (Social Role) ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image) อุปนิสัย (Traits) แรงผลักดันเบื้องลึก (Motives) จินตนาการ แนวโน้มวิธีคิด วิธีปฏิบัติตนอันเป็นไปโดยธรรมชาติของบุคคล ความเคยชิน พฤติกรรมซ้ำๆ ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดัดแปลงจาก สำนักงาน ก.พ.

  7. ความหมายสมรรถนะ : คุณลักษณะที่ซ่อนอยู่ในตัวบุคคล ที่ผลักดันให้บุคคลสร้างผลการปฏิบัติงานในงานที่ตนรับผิดชอบให้สูงกว่าเกณฑ์หรือเป้าหมายที่กำหนด (McClelland , 1973) : ลักษณะของทักษะ ความรู้ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ณ สถานการณ์หนึ่งๆ หรือเฉพาะงานนั้นๆ (Rylatt & Lohan, 1995)

  8. : คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นกว่าเพื่อนร่วมงานอื่น ๆ ในองค์กร (สำนักงาน ก.พ.) สรุป สมรรถนะ คือ ความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานใดงานหนึ่งให้สำเร็จและโดดเด่นกว่าคนอื่น ๆ ในเชิงพฤติกรรม เช่น -มากกว่าเพื่อนร่วมงานอื่น ๆ -ในสถานการณ์หลากหลายกว่า -ได้ผลงานดีกว่าผู้อื่น

  9. ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ สมรรถนะ และผลงาน ความรู้ที่นำมาประยุกต์ใช้ ในการทำงานจนประสบความสำเร็จ สมรรถนะ 1 องค์ความรู้ และ ทักษะต่างๆ ผลงาน สมรรถนะ 2 ทักษะที่นำมาใช้ในการทำงานจนประสบความสำเร็จ สมรรถนะ 3 บทบาททางสังคม (Social Role) ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image) อุปนิสัย (Traits) แรงผลักดันเบื้องลึก (Motives) คุณลักษณะที่นำมาใช้ในการทำงานจนประสบความสำเร็จ สมรรถนะ 4 สมรรถนะ 5 ดัดแปลงจาก สำนักงาน ก.พ.

  10. ประโยชน์ของสมรรถนะ 1. ช่วยสนับสนุนวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ขององค์กร 2. เป็นกรอบในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร 3. เป็นเครื่องมือในการบริหารพัฒนา เพิ่มขีดความสามารถของพนักงานในองค์กร 3.1 คัดเลือกบุคคลหรือคณะทำงาน 3.2 ใช้แนวทางการวางแผนพัฒนาฝึกอบรม 3.3 เป็นแนวทางในการเลื่อนขั้น ปรับตำแหน่งงาน 3.4 เป็นแนวทางในการโยกย้ายตำแหน่งงาน 3.5 เป็นแนวทางในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.6 ใช้ในการบริหารผลตอบแทน

  11. ประเภทของสมรรถนะ : ข้าราชการฯสายสนับสนุน คุณภาพการปฏิบัติงาน 1.สมรรถนะหลัก (Core Competency) 1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1.2 การบริการที่ดี 1.3 การพัฒนาตนเอง 1.4การมีจริยธรรม 1.5 การทำงานเป็นทีม 2. สมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) 2.1 ความเป็นผู้นำ 2.2 การคิดเชิงกลยุทธ์ 2.3 การตัดสินใจแก้ปัญหา 2.4 วิสัยทัศน์

  12. ประเภทของสมรรถนะ : ข้าราชการฯสายสนับสนุน คุณภาพการปฏิบัติงาน สมรรถนะ การบริหารจัดการ สมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) คุณลักษณะ (ความรู้ ทักษะ และพฤติกรรม) ที่ทุกคนจะต้องมี เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้สำเร็จ คุณลักษณะ (ความรู้ ทักษะ และพฤติกรรม) ที่ในแต่ละสายวิชาชีพจำเป็นต้องมี เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้สำเร็จ (สมรรถนะร่วม-เฉพาะตำแหน่ง) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการที่ดี 3. การพัฒนาตนเอง 4. การมีจริยธรรม 5. การทำงานเป็นทีม 6. ความเป็นผู้นำ 7. การคิดเชิงกลยุทธ์ 8. การตัดสินใจแก้ไขปัญหา 9. วิสัยทัศน์

  13. สมรรถนะ (Competency) โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง สมรรถนะประจำสายงาน

  14. สมรรถนะ (Competency) โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง การทำความเข้าใจสมรรถนะ

  15. การทำความเข้าใจสมรรถนะการทำความเข้าใจสมรรถนะ

  16. ความเป็นผู้นำ (Leadership)

  17. ความเป็นผู้นำ (Leadership)

  18. ความเป็นผู้นำ (Leadership)

  19. ความเป็นผู้นำ (Leadership)

  20. ความเป็นผู้นำ (Leadership)

  21. การทำความเข้าใจสมรรถนะการทำความเข้าใจสมรรถนะ

  22. การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking)

  23. การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking)

  24. การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking)

  25. การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking)

  26. การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking)

  27. การทำความเข้าใจสมรรถนะการทำความเข้าใจสมรรถนะ

  28. การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision making)

  29. การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision making)

  30. การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision making)

  31. การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision making)

  32. การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision making)

  33. การทำความเข้าใจสมรรถนะการทำความเข้าใจสมรรถนะ

  34. วิสัยทัศน์ (Vision)

  35. วิสัยทัศน์ (Vision)

  36. วิสัยทัศน์ (Vision)

  37. วิสัยทัศน์ (Vision)

  38. วิสัยทัศน์ (Vision)

  39. การประเมินสมรรถนะ • Test of Performance • Behavior Observation • Self-Report ลักษณะของแบบประเมินที่ใช้พฤติกรรมกำหนดระดับ (Behaviorally Anchored Rating Scale = BARS)

  40. สมรรถนะ (Competency) โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง แนวปฏิบัติในการประเมินสมรรถนะ

  41. แนวปฏิบัติในการประเมินสมรรถนะแนวปฏิบัติในการประเมินสมรรถนะ 1. ประชุมชี้แจงกรรมการผู้ประเมิน กำหนดให้ผู้ประเมิน 3 - 5 คน ต่อผู้ถูกประเมิน 1 คน 2. ในการประเมิน ให้กรรมการผู้ประเมินตรวจสอบข้อมูล สารสนเทศ หลักฐานที่แสดงถึงร่องรอยความมีคุณภาพ ผนวกกับการสังเกต หรือสอบถามข้อมูลจากผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน หรือผู้รับบริการก่อนตัดสินใจให้คะแนนคุณภาพในแต่ละสมรรถนะ ทั้งนี้ ขอให้บันทึกร่องรอยความมีคุณภาพโดยระบุข้อมูลที่ตรวจพบให้ชัดเจน

  42. แนวปฏิบัติในการประเมินสมรรถนะแนวปฏิบัติในการประเมินสมรรถนะ 3. การตัดสินให้คะแนนในแต่ละสมรรถนะให้วงกลมล้อมรอบด้วยตัวเลข แสดงระดับคุณภาพ ตามวินิจฉัยของกรรมการผู้ประเมินแต่ละคน ทั้งนี้การให้คะแนนในระดับที่สูงขึ้น ต้องมีรายการพฤติกรรมครบถ้วนตามระดับคุณภาพที่ต่ำกว่าก่อนเสมอ 4. บันทึกสรุปคะแนนของกรรมการแต่ละคน การประเมินลงในแบบบันทึกสรุป แล้วตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ

  43. แนวปฏิบัติในการประเมินสมรรถนะแนวปฏิบัติในการประเมินสมรรถนะ 5. สะท้อนผลการประเมินไปยังผู้ถูกประเมิน โดยกำหนดให้ผู้ถูกประเมินจัดทำแผนการพัฒนาสมรรถนะตนเอง เป็นรายบุคคล (Individual Development Plan : IDPs) ในกรณีที่ผลการประเมินไม่ผ่านตามเกณฑ์

  44. แบบบันทึกคะแนน การประเมินสมรรถนะบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ชื่อ - นามสกุล ผู้ถูกประเมิน........................................................................ หน่วยงาน....................................................................................................

  45. สมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) 2.1 ความเป็นผู้นำ (Leadership) 2.2 การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking) ที่ รายการสมรรถนะ คะแนนจากกรรมการคนที่ 2.3 การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision making) 1 2 3 4 5 รวม เฉลี่ย ร้อยละ 2.4 วิสัยทัศน์ (Vision) รวมเฉลี่ย แบบบันทึกสรุป คะแนน การประเมินสมรรถนะบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ชื่อ - นามสกุล ผู้ถูกประเมิน.................................................................................. หน่วยงาน...............................................................................................................

  46. ผลการประเมิน  ผ่าน  ไม่ผ่าน ลงชื่อ.................................................... (...................................................) ประธานกรรมการ ลงชื่อ........................................... ลงชื่อ................................................. (.......................................) (................................................) กรรมการ กรรมการ ลงชื่อ................................................... ลงชื่อ................................................. (.........................................) (................................................) กรรมการ กรรมการ วันที่...............เดือน.............................พ.ศ..................

  47. สมรรถนะ (Competency) โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง เกณฑ์การประเมินสมรรถนะ ได้รับคะแนนประเมินเฉลี่ยจากกรรมการ 5 คนไม่ต่ำกว่า 3.50 ในระบบ 5 แต้ม หรือไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ในแต่ละสมรรถนะ และเฉลี่ยในภาพรวมของทุกสมรรถนะ จึงจะถือว่าผ่าน

  48. ขอให้ทุกท่านผ่านเกณฑ์ประเมินตามที่มุ่งหวังขอให้ทุกท่านผ่านเกณฑ์ประเมินตามที่มุ่งหวัง สวัสดี

More Related