8.35k likes | 25.17k Views
การออกแบบท่อลม Duct Design. ตัวอย่างสำหรับการออกแบบท่อลม. สำนักงานแห่งหนึ่งต้องการใช้เครื่องปรับอากาศขนาด 5 ตัน ที่มีปริมาณลม 2000 CFM มีจำนวนคนทำงานทั้งหมด 20 คน ข้อกำหนดในการออกแบบท่อลม แรงดันตกในท่อลมไม่เกิน 0.1 นิ้วน้ำ/100 ฟุต ความสูงท่อลมไม่เกิน 20 นิ้ว
E N D
การออกแบบท่อลม Duct Design
ตัวอย่างสำหรับการออกแบบท่อลมตัวอย่างสำหรับการออกแบบท่อลม • สำนักงานแห่งหนึ่งต้องการใช้เครื่องปรับอากาศขนาด 5 ตัน ที่มีปริมาณลม 2000 CFM มีจำนวนคนทำงานทั้งหมด 20 คน • ข้อกำหนดในการออกแบบท่อลม • แรงดันตกในท่อลมไม่เกิน 0.1 นิ้วน้ำ/100 ฟุต • ความสูงท่อลมไม่เกิน 20 นิ้ว • ฝ้าเพดานภายในห้อง ใช้ฝ้าเพดานทีบาร์ขนาด 120 x 60 ซม. (48” x 24”) • กำหนดให้ระบบระบายอากาศเป็นดังนี้ • ระบบระบายอากาศเสีย = 7 CFM/คน • ระบบอากาศบริสุทธิ์มากกว่าอากาศเสีย 10% ข้อแนะนำ:ตารางการคำนวณทั้งหมดอยู่ใน Index หน้า 53-56
500 CFM 500 CFM E C 8 ฟุต (2.5 ม.) FAG RAG A B 16 ฟุต (5 ม.) 16 ฟุต (5 ม.) 10 ฟุต (3 ม.) 8 ฟุต (2.5 ม.) D F Fresh Air AHU อากาศบริสุทธิ์ Return Air ลมกลับ Chamber EAG 13 ฟุต (4 ม.) 500 CFM 500 CFM Exhaust Air อากาศเสีย ตัวอย่างผังห้องกับการออกแบบท่อลม หมายเหตุ:เพื่อให้ปริมาณลม 2000 CFM กระจายทั่วห้อง ควรออกแบบให้หัวลมจ่ายมีปริมาณลมเท่าๆ กัน คือ 500 CFM และห่างกันประมาณ 5 เมตร หรือ 16 ฟุต
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อลม (นิ้ว) ปริมาณลม CFM –CU FT of Air per minute ความเร็วลม (FPM) Friction Loss in Inches of water per 100 Ft (ความดันตก หน่วยนิ้วน้ำ/100 ฟุต) ทำความเข้าใจกับกราฟการคำนวณขนาดท่อลม หมายเหตุ:จาก ปริมาณลมและความดันตก ที่กำหนดไว้ สามารถหา เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อลมและความเร็วลม ได้จากกราฟ เพื่อนำไปใช้หา ความดันตกรวมทั้งระบบ และขนาดท่อลมเหลี่ยม รวมทั้งขนาดหัวจ่ายได้
0.1 20 20 ตารางการคำนวณขนาดท่อลม นำข้อมูลที่มีอยู่ใส่ลงในตารางเพื่อที่จะคำนวณค่าต่างๆ ต่อไป
ปริมาณลมท่อ A 2000 CFM 18 นิ้ว ความเร็วลม 1200 FPM ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 18 นิ้ว แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต 1200 FPM การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่ง A **ความเร็วลมในท่อลมจ่ายสำหรับสำนักงานไม่ควรเกิน 1200-2200 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **
0.1 20 20 ความเร็วลม และ ขนาดท่อลม A นำค่ามาใส่ในตาราง
ปริมาณลมท่อ B 1000 CFM 14 นิ้ว ความเร็วลม 1000 FPM ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 14 นิ้ว แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต 1000 FPM การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่ง B **ความเร็วลมในท่อลมจ่ายสำหรับสำนักงานไม่ควรเกิน 1200-2200 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **
0.1 20 20 ความเร็วลม และ ขนาดท่อลม B นำค่ามาใส่ในตาราง
ปริมาณลมท่อ C-D-E-F 500 CFM 11 นิ้ว ความเร็วลม 800 FPM ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 11 นิ้ว แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต 800 FPM การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่ง C-D-E-F **ความเร็วลมในท่อลมจ่ายสำหรับสำนักงานไม่ควรเกิน 1200-2200 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **
0.1 20 20 ความเร็วลม และ ขนาดท่อลม C-D-E-F นำค่ามาใส่ในตาราง
ความเร็วลม 600 FPM 155 CFM ปริมาณลมท่ออากาศบริสุทธิ์ 155 CFM 7 นิ้ว 600 FPM แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 7 นิ้ว การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่งอากาศบริสุทธิ์ หมายเหตุ : ระบบอากาศบริสุทธิ์มากกว่าอากาศเสีย 10% 10%(ปริมาณอากาศเสีย x จำนวนคน) = 1.1 (7 CFM/คน x 20 คน) = 155 CFM **ความเร็วลมในท่อลมอากาศบริสุทธิ์ไม่ควรเกิน 500-800 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **
0.1 20 20 นำค่ามาใส่ในตาราง; ขนาดท่อลมอากาศบริสุทธิ์
ความเร็วลม 600 FPM 140 CFM ปริมาณลมท่ออากาศเสีย 140 CFM 6.5 นิ้ว 600 FPM แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 6.5 นิ้ว การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่งอากาศเสีย หมายเหตุ : อากาศเสีย = 7 CFM/คน ปริมาณอากาศเสีย x จำนวนคน = 7 CFM/คน x 20 คน = 140 CFM **ความเร็วลมในท่อลมอากาศเสียไม่ควรเกิน 500-800 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **
0.1 20 20 นำค่ามาใส่ในตาราง; ขนาดท่อลมอากาศเสีย
ความกว้างท่อลม = 10 นิ้ว ความสูงท่อลม = 10 นิ้ว ตัวอย่างท่อลมวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 11 นิ้ว ตารางเปรียบเทียบขนาดท่อลมวงกลมและท่อลมสี่เหลี่ยม หมายเหตุ:แปลงขนาดท่อลมวงกลมเป็นท่อลมสี่เหลี่ยมเพื่อนำไปใช้งานจริง โดยสามารถหาความสูงและความกว้างได้จากตารางแนวนอนและแนวตั้งที่ตัดกัน ณ ตำแหน่งเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลมวงกลม **1. ความสูงของท่อต้องไม่เกินข้อกำหนด (20 นิ้ว) 2. ขนาดของท่อสี่เหลี่ยมสามารถเลือกได้หลายขนาด แต่ที่เหมาะสมที่สุดควรจะเลือกให้ได้ขนาดใกล้เคียงสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากที่สุด เพื่อประหยัดปริมาณสังกะสี
ความกว้างท่อลม A = 16 ฟุต ความสูงท่อลม A = 17 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลม A เป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลม A มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 นิ้ว
0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยม A นำค่ามาใส่ในตาราง
ความกว้างท่อลม B = 12 ฟุต ความสูงท่อลม B = 14 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลม B เป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลม B มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 14 นิ้ว
0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยม B นำค่ามาใส่ในตาราง
ความกว้างท่อลม C-D-E-F = 10 ฟุต ความสูงท่อลม C-D-E-F = 10 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลม C-D-E-F เป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลม C-D-E-F มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 11 นิ้ว
0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยม C-D-E-F นำค่ามาใส่ในตาราง
ความกว้างท่อลมอากาศบริสุทธิ์= 6 ฟุต ความสูงท่อลมอากาศบริสุทธิ์= 7 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลมอากาศบริสุทธิ์เป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลมอากาศบริสุทธิ์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7 นิ้ว
0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยมอากาศบริสุทธิ์ นำค่ามาใส่ในตาราง
ความกว้างท่อลมอากาศเสีย = 6 ฟุต ความสูงท่อลมอากาศเสีย = 6 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลมอากาศเสียเป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลมอากาศเสียมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6.5 นิ้ว
0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยมอากาศเสีย นำค่ามาใส่ในตาราง
สามารถเลือกได้ 2 แบบคือ • Fresh -> A -> B -> C • Fresh -> A -> B -> D • เนื่องจากระยะทางเท่ากัน 500 CFM 500 CFM E C 8 ฟุต (2.5 ม.) FAG RAG A B 16 ฟุต (5 ม.) 16 ฟุต (5 ม.) 10 ฟุต (3 ม.) 8 ฟุต (2.5 ม.) D F Fresh Air AHU อากาศบริสุทธิ์ Return Air ลมกลับ Chamber EAG 13 ฟุต (4 ม.) 500 CFM 500 CFM Exhaust Air อากาศเสีย เลือกระยะทางไกลสุดของท่อลมเพื่อคำนวณความดันตกรวมของระบบ นำค่าความดันตกที่ตำแหน่งต่างๆ ตามเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งที่เลือกมารวมกันเพื่อหาความดันตกของระบบ
ความดันตก = [(ความดันตกต่อ100ฟุต)/100] x ความยาวท่อลม 0.016 0.016 0.008 0.010 นำค่ามาใส่ในตาราง คำนวณค่าความดันตกของท่อลมทั้งหมด 0.1 20 20 = 0 ความดันตกรวมของระบบ = ความดันตกรวมท่อลมถึงตำแหน่งไกลสุด +ความดันตกของท่อลมกลับ + ความดันตกของท่อลมอากาศบริสุทธิ์ ติดที่เครื่องปรับอากาศ A+ B+ C+ Fresh = 0.016 + 0.016 + 0.008 + 0.010 = 0.05 ความดันตกรวมของระบบ = นิ้วน้ำ
วิธีการเลือกขนาดคอหัวลมจ่ายแบบต่างๆวิธีการเลือกขนาดคอหัวลมจ่ายแบบต่างๆ • สำหรับขนาดคอหัวลมจ่ายปกติจะใช้คอหัวลมจ่ายแบบ ASD • ส่วนขนาดคอหัวลมกลับ,อากาศบริสุทธิ์ และอากาศเสียจะใช้คอหัวตามรูปที่แสดงทางขวามือ แบบหัวลมกลับ,อากาศบริสุทธิ์ และ อากาศเสีย แบบหัวจ่าย model ASD
วิธีการเลือกขนาดหัวลมจ่ายแบบต่างๆวิธีการเลือกขนาดหัวลมจ่ายแบบต่างๆ จากตารางการคำนวณความดันตกในหัวลมจ่ายแบบต่างๆ เราสามารถหาความดันตกได้โดย • เลือกความเร็วลมมาตรฐานที่คอหัวจ่ายตามข้อกำหนด • ตรวจสอบปริมาณลมที่ใช้ในหัวจ่ายต่างๆ เพื่อหาขนาดหัวลมจ่ายพร้อมทั้งความดันตกในหัวลมจ่าย (ดูตัวอย่างหน้าถัดไป) ตารางการคำนวณแบบหัวลมกลับ,อากาศบริสุทธิ์ และ อากาศเสีย ตารางการคำนวณหัวจ่าย model ASD
เลือกความเร็วลมหัวลมจ่ายที่ 500 FPM ปริมาณลมที่หัวลมจ่าย C-D-E-F = 500 CFM ความดันตกในหัวลมจ่าย = 0.09 นิ้วน้ำ ขนาดหัวลมจ่าย = 14” x 14” ตารางการเลือกขนาดหัวลมจ่ายแบบ ASD ความเร็วลมที่หัวลมจ่ายไม่ควรเกิน 500-750 FPM ในที่นี้เลือกใช้ความเร็วลมที่ 500 FPM
เลือกความเร็วลมหัวลมอากาศบริสุทธิ์และอากาศเสียที่ 500 FPM ขนาดหัวลมอากาศบริสุทธิ์และอากาศเสีย = 10” x 6” ปริมาณลมที่หัวลมอากาศบริสุทธิ์ = 155 CFM ปริมาณลมที่หัวลมอากาศเสีย = 140 CFM ความดันตกในหัวลมกาศบริสุทธิ์และกาศเสีย = 0.04 นิ้วน้ำ ตารางการเลือกขนาดหัวลมอากาศบริสุทธิ์ (FAG) และอากาศเสีย (EAG) ความเร็วลมที่หัวลมอากาศบริสุทธิ์และอากาศเสียไม่ควรเกิน 500-800 FPM ในที่นี้เลือกใช้ความเร็วลมที่ 500 FPM
(a-1) คำนวณค่าความดันตกของท่อลมทั้งหมด นำค่ามาใส่ในตาราง 0.1 20 20 = 0 ความดันตกรวมของระบบ = ความดันตกรวมท่อลมถึงตำแหน่งไกลสุด +ความดันตกของท่อลมกลับ + ความดันตกของท่อลมอากาศบริสุทธิ์ ติดที่เครื่องปรับอากาศ A+ B+ C+ Fresh = 0.016 + 0.016 + 0.008 + 0.010 = 0.05 ความดันตกรวมของระบบ = นิ้วน้ำ (a-1)+ หัวจ่าย C+ หัวจ่าย Fresh = 0.05 + 0.09 + 0.04 = 0.18
การคำนวณขนาดหัวลมกลับ (RAG) • เนื่องจากหัวลมกลับติดอยู่ที่เครื่องปรับอากาศ ดังนั้นจึงไม่ต้องคำนวณขนาดท่อลม • แต่ต้องหาขนาดหัวลมกลับ; เพื่อความสะดวกในการติดตั้งและบำรุงรักษา ควรเลือกขนาดหัวลมกลับให้มีขนาดเท่ากับขนาดของฝ้าเพดานภายในห้อง • จากข้อกำหนด ฝ้าเพดานภายในห้อง ใช้ฝ้าเพดานทีบาร์ขนาด 120 x 60 ซม. (48” x 24”) • ผู้ออกแบบจึงควรเลือกขนาดหัวลมกลับ = 48” x 24" • จากขนาดหัวลมกลับ จะสามารถหาความดันตกภายในหัวลมกลับได้จากตารางเดียวกันกับการหาขนาดหัวลมอากาศบริสุทธิ์ และอากาศเสีย (index หน้า 56) (โดยคิดที่ปริมาณลมอย่างน้อยเท่ากับปริมาณลมทั้งหมดในระบบ สำหรับในที่นี้คือ 2000 CFM) • จากตาราง; ที่ปริมาณลมใกล้เคียงกับปริมาณลมของระบบมากที่สุดคือ 2600 CFM จะได้ความดันตกของหัวลมกลับ = 0.025 in.wg.
500 CFM 500 CFM E C 8 ฟุต (2.5 ม.) FAG RAG A B 16 ฟุต (5 ม.) 16 ฟุต (5 ม.) 10 ฟุต (3 ม.) 8 ฟุต (2.5 ม.) D F Fresh Air AHU อากาศบริสุทธิ์ Return Air ลมกลับ Chamber EAG 13 ฟุต (4 ม.) 500 CFM 500 CFM Exhaust Air อากาศเสีย แผนผังห้องหลังการออกแบบท่อลมทั้งหมด หัวจ่าย (SAG) ทุกหัวใช้ขนาด 14” x 14” ท่อลม C-D-E-F ใช้ขนาด 10” x 10” RAG 48” x 24” 14” x 12” 17” x 16” 7” x 6” FAG 10” x 6” 6” x 6” EAG 10” x 6”
เลือก AHU ขนาด 5 ตัน รุ่นTTH060 เลือกคอนเดนซิ่งยูนิต ขนาด 5 ตัน รุ่นTTK060 ทำการเลือกเครื่องปรับอากาศหลังการออกแบบท่อลม ปริมาณลม = 2000 CFM ความดันตกรวม = 0.18 นิ้วน้ำ
คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
การเลือกความเร็วรอบมอเตอร์เพื่อให้เหมาะกับความดันตกที่คำนวณได้ (0.18 หรือประมาณ ~ 0.2 นิ้วน้ำ) และปริมาณลมที่กำหนดไว้ ** คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK
การประเมินราคาท่อลม คำนวณพื้นที่ท่อลมทั้งหมดที่ใช้งาน เพื่อนำไปคำนวณราคาแผ่นสังกะสีตามพื้นที่ใช้งานทั้งหมด พื้นที่ท่อลม = 0.55 x (ความกว้างท่อลม+ ความสูงท่อลม) x ความยาวท่อลม = 0.55 x (นิ้ว + นิ้ว) x เมตร ; หน่วย ตารางฟุต