470 likes | 689 Views
Office of the Civil Service Commission (OCSC). การบริหารผลการปฏิบัติราชการ โดยใช้ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคล (DPIS/PPIS). สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.) Office of the Civil Service Commission (OCSC). INTRANET.
E N D
Office of the Civil Service Commission (OCSC) การบริหารผลการปฏิบัติราชการโดยใช้ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคล (DPIS/PPIS)
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.) Office of the Civil Service Commission (OCSC) INTRANET
การเตรียมความพร้อมในการบริหารผลการปฏิบัติงานโดยใช้ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคล (DPIS/PPIS) • ฐานข้อมูลข้าราชการในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS/PPIS 4.0) • ความพร้อมของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย • การให้ความรู้เกี่ยวกับระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานโดยใช้ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรมให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบ • ฝ่ายบริหารและคณะทำงานกำหนดสมรรถนะ • กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (ก.พ.ร.) • กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่ • ผู้รับการประเมิน • ผู้ให้ข้อมูล • ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน • ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป • ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปอีก 1 ระดับ
การตรวจสอบสิทธิผู้ใช้งานระบบฯการตรวจสอบสิทธิผู้ใช้งานระบบฯ • การตรวจสอบสิทธิของผู้ Login เข้าสู่ระบบ DPIS ตามกลุ่มผู้ใช้งานในระบบ • มิติที่ 1 การใช้งานโปรแกรมย่อยต่างๆ ในระบบ (เรียกดู , เพิ่ม , ลบ , แก้ไข ข้อมูล เป็นต้น) • มิติที่ 2 การมองเห็นข้อมูลบุคลากรได้ถึงระดับใด (ทั้งกรม หรือ เฉพาะสำนัก/กอง ที่กำหนด เป็นต้น) หน้าแรกเมื่อเข้าสู่ระบบฯต้อง Login เพื่อตรวจสอบสิทธิผู้ใช้งานระบบฯ
การตรวจสอบสิทธิผู้เข้าสู่ระบบฯ (ต่อ) Login เข้าสู่ระบบฯ ในบทบาทการเจ้าหน้าที่
การตรวจสอบสิทธิผู้เข้าสู่ระบบฯ(ต่อ)การตรวจสอบสิทธิผู้เข้าสู่ระบบฯ(ต่อ) Login เข้าสู่ระบบฯ ในบทบาทผู้ทำงานภายในสำนัก/กอง
การตรวจสอบสิทธิผู้เข้าสู่ระบบฯ (ต่อ) Login เข้าสู่ระบบฯ ในบทบาทข้าราชการ
ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการโดยใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0 กำหนดสัดส่วนขององค์ประกอบ ในการประเมินฯและเลือกวิธีประเมินสมรรถนะ การจัดการข้อมูลระดับผลการประเมิน การจัดการข้อมูล KPI ของหน่วยงาน การจัดการข้อมูล ตัวชี้วัดของกรมที่ถ่ายทอดลงไปสู่สำนัก/กอง การจัดการข้อมูล สมรรถนะ การจัดการข้อมูล ระดับของแต่ละสมรรถนะ การกำหนด มาตรฐานสมรรถนะของผู้ดำรงตำแหน่ง การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กำหนดสัดส่วนขององค์ประกอบ ในการประเมิน เลือกวิธีในการประเมินสมรรถนะ
การจัดการข้อมูลระดับผลการประเมินการจัดการข้อมูลระดับผลการประเมิน
การจัดการข้อมูล KPI ของหน่วยงาน
การจัดการข้อมูล ตัวชี้วัดของกรมที่ถ่ายทอดลงไปสู่สำนัก/กอง
การจัดการข้อมูล ตัวชี้วัดของกรมที่ถ่ายทอดลงไปสู่สำนัก/กอง (ต่อ)
การจัดการข้อมูล สมรรถนะ
การจัดการข้อมูล ระดับของแต่ละสมรรถนะ
การกำหนด มาตรฐานสมรรถนะของผู้ดำรงตำแหน่ง บริหารจัดการระบบและบันทึกเกณฑ์คะแนนสมรรถนะของแต่ละตำแหน่งทั้งหมดในหน่วยงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ผู้รับการประเมินบันทึกข้อมูลสำหรับการประเมิน โดยกำหนดผู้ประเมิน (ตาม ว.20)
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้รับการประเมินบันทึกข้อมูลตัวชี้วัดที่ได้ทำคำรับรองกับผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้รับการประเมินรายงานผลงานที่ทำได้จริง ตามตัวชี้วัดที่ทำคำรับรองไว้
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้ให้ข้อมูลบันทึกผลการประเมินในเบื้องต้นให้แก่ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมินประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้รับการประเมินตามคำรับรอง
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมินประเมินสมรรถนะของผู้รับการประเมิน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ระบบคำนวณคะแนน ตามที่ ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมินตามองค์ประกอบและน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบที่กำหนด
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมินให้ความเห็นด้านผลงานและสมรรถนะของผู้รับการประเมิน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมินให้ความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนารายบุคคล
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้บังคับบัญชาระดับเหนือขึ้นไป ให้ความเห็นเกี่ยวกับผลการประเมินและแผนพัฒนาฯ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ) ผู้บังคับบัญชาระดับเหนือขึ้นไปอีก 1ระดับให้ความเห็นเกี่ยวกับผลการประเมินและแผนพัฒนาฯ
รายงานผลการปฏิบัติงานรายบุคคลรายงานผลการปฏิบัติงานรายบุคคล
การบริหารวงเงินเพื่อการเลื่อนเงินเดือนโดยใช้ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคล (DPIS/PPIS) Office of the Civil Service Commission (OCSC)
ขั้นตอนการใช้ระบบบริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือนขั้นตอนการใช้ระบบบริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน กำหนดระดับผลการประเมินย่อย และร้อยละของการเลื่อนเงินเดือน ในแต่ละรับดับผลการประเมินย่อย 1 หน่วยงานที่ไม่ได้ใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0 นำเข้าของมูลคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการจากไฟล์แม่แบบที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด หน่วยงานที่ใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0 ดึงข้อมูลคะแนน ที่ได้จากการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2.2 2.1 ตรวจสอบสังกัดของข้าราชการในการเลื่อนขั้นเงินเดือน เช่น กรณีข้าราชการที่ไปช่วยราชการที่หน่วยงานอื่น และใช้เม็ดเงินที่หน่วยงานอื่นในการเลื่อนเงินเดือน 3 4 บริหารวงเงินงบประมาณเลื่อนเงินเดือน 5 จัดทำบัญชีแนบท้ายคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน
กำหนดระดับผลการประเมินย่อย และร้อยละของการเลื่อนเงินเดือนในแต่ละระดับผลการประเมินย่อย 1
หน่วยงานที่ใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0นำเข้าข้อมูลคะแนนผลการประเมิน และข้อมูลที่จำเป็น 2.1
หน่วยงานที่ไม่ได้ใช้ระบบ DPIS/PPIS 4.0นำเข้าข้อมูลคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการจากไฟล์แม่แบบที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด 2.2
ตรวจสอบสังกัดของข้าราชการในการเลื่อนขั้นเงินเดือนตรวจสอบสังกัดของข้าราชการในการเลื่อนขั้นเงินเดือน 3
บริหารวงเงินงบประมาณเลื่อนเงินเดือน (การเปรียบเทียบ) 4
บริหารวงเงินงบประมาณเลื่อนเงินเดือน (รายละเอียด) 4
บริหารวงเงินงบประมาณเลื่อนเงินเดือน (ตัวอย่างรายงาน) 4