1 / 34

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF). โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย โครงการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ วันที่ 19 - 20 พฤษภาคม 2554. หลักการของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ที่ต้องดำเนินการตาม.

Download Presentation

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย โครงการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ วันที่ 19 - 20พฤษภาคม 2554

  2. หลักการของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติหลักการของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ที่ต้องดำเนินการตาม ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 2 กรกฎาคม 2552 ประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม 2552

  3. No change , No opportunity ไม่กล้าเปลี่ยน ก็ไม่มีโอกาส โดย เจ็ง เลี่ยวเกอ

  4. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สังคมการเรียนรู้/การเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของผู้ใช้ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) ฐานความรู้แบบสมรรถนะ (Competency Based) 1 2 3 4 5 การปฏิรูปการเรียนรู้

  5. ในโลกปัจจุบัน...ทุกสิ่งทุกอย่างเปลี่ยนแปลงเร็วมากในโลกปัจจุบัน...ทุกสิ่งทุกอย่างเปลี่ยนแปลงเร็วมาก เนื้อหาที่ใช้สอนก็ต้องเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบ TQF เป็นสิ่งจำเป็น...ต้องทำ...ไม่ทำไม่ได้

  6. TQFทำเพื่อเป็นหลักประกันว่า เราสามารถ สร้างลูกศิษย์ของ วทส. มี ความรู้คู่คุณธรรม “เป็นคนดี คนเก่ง”

  7. TQFสู่การปฏิบัติ

  8. หลักสูตรใหม่ / หลักสูตรปรับปรุง สกอ.:- เน้นสมรรถนะ (competency based) - ส่งเสริมการเพิ่มนักศึกษาด้าน S&T - กำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นสมรรถนะที่ จำเป็นสำหรับบัณฑิตทุกคน ตอบสนองประชาคมอาเซียนในปี 2558 (ค.ศ. 2015)

  9. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) สู่การปฏิบัติ 1. ความชัดเจนของกรอบความคิดและแนวปฏิบัติ หลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ห้องเรียน กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(มคอ.1) + อัตลักษณะของมหาวิทยาลัย 2. ความสมบูรณ์และความสัมพันธ์ของหลักสูตร Curriculum Objectives Learning Outcomes 3. ความรับผิดชอบของรายวิชาที่มีต่อหลักสูตร(curriculum mapping) Curriculum Courses description Teaching 4.Curriculum Implementations : ระบบบริหารจัดการ การนิเทศ การจัดการเรียนการสอน สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ 5. การประเมินผล : ประเมินตัวหลักสูตร ประเมินการนำไปใช้ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร

  10. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ TQF:HEd ปรัชญาของวิทยาลัย ปรัชญาของคณะ มาตรฐานคุณวุฒิ.. สาขา/สาขาวิชา คุณลักษณะบัณฑิต คุณลักษณะบัณฑิต หลักสูตรสาขาวิชาต่าง ๆ คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะทั่วไป คุณลักษณะด้านวิชาการและวิชาชีพ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 น.ก. หมวดวิชาชีพ / เฉพาะ 84 น.ก. หมวดวิชา เลือกเสรี 6 น.ก. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Learning Outcomes) 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ IT 6. ทักษะพิสัย จัดหลักสูตรสหกิจศึกษา รายละเอียดของ รายละเอียดของ รายวิชา รายวิชา มคอ.3 มคอ.3

  11. มาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชามาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา หมายถึง กรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตใน แต่ละระดับคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา - กำหนดคุณลักษณะของบัณฑิต - ปริญญา - องค์ความรู้ที่เป็นเนื้อหา ที่จำเป็นจะต้องมีในหลักสูตร สาขา/สาขาวิชา และระดับคุณวุฒิ

  12. มาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชามาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา เป็นหลักประกันว่าบัณฑิต ที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ในสาขา/สาขาวิชา และระดับคุณวุฒิเดียวกัน จะมีผลการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าที่กำหนด

  13. การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรตามแนวคิดของกรอบTQFการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรตามแนวคิดของกรอบTQF รายละเอียดของหลักสูตร (program specification) หมายถึง-คำอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตร การจัดการเรียน การสอนที่จะทำให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตร นั้นๆ โดยจะถ่ายทอดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของบัณฑิต ที่กำหนดไว้ ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาระดับชาติ และมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับการศึกษาของสาขา/สาขาวิชา ไปสู่การปฏิบัติในหลักสูตรซึ่งคณาจารย์ผู้สอน จะต้องร่วม มือกันวางแผน การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร

  14. การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร • พิจารณาความพร้อมและศักยภาพของสถาบัน • สถาบันตั้งกรรมการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา.....ตาม มาตรฐานคุณวุฒิ • ระดับ.........สาขา/สาขาวิชา...........ประกอบด้วย : • - อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 2 คน • - ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขา / สาขาวิชา.... ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกอย่างน้อย 2 คน • - พัฒนาหลักสูตร โดยมีหัวข้อและรายละเอียดตามที่ • กำหนดในแบบ มคอ. 2

  15. การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร (ต่อ) • การพัฒนาหลักสูตร สาขา/สาขาวิชา.....สถาบันอาจเพิ่มเติมผล • การเรียนรู้ที่คาดหวัง นอกจากมาตรฐานที่กำหนด โดยแสดงแผนที่ • การกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา • (Curriculum Mapping) • - ความรับผิดชอบหลัก • - ความรับผิดชอบรอง

  16. TQF : สิ่งที่สถาบันอุดมศึกษาต้องดำเนินการ กำหนดระบบและกลไกของการจัดทำรายละเอียดของ หลักสูตร  อนุมัติหลักสูตรก่อนเปิดสอน  เสนอสกอ.ภายใน 30 วัน นับแต่สภาสถาบันอนุมัติ ประเมินหลักสูตร เพื่อพิจารณาอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย ทุก 5 ปี

  17. TQF : สิ่งที่สถาบันการศึกษาต้องดำเนินการ (ต่อ)  พัฒนาหรือปรับปรุง รายละเอียดของหลักสูตรโดย จัดทำ - รายละเอียดของหลักสูตร - รายละเอียดของรายวิชา - รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) - การจัดการเรียนการสอน - เกณฑ์การประเมินผล

  18. TQF : สิ่งที่สถาบันการศึกษาต้องดำเนินการ (ต่อ)  รายงานผล การดำเนินการของรายวิชา การดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม(ถ้ามี) การดำเนินการของหลักสูตร ตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด ดำเนินการจัดการเรียนการสอนที่ครอบคลุม (Learning outcomes)

  19. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1. หลักสูตร ความสมบูรณ์และความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ 2. การนำหลักสูตรไปใช้ 2.1 ระบริหารจัดการ และความพร้อมในด้านต่าง ๆ 2.2 การสอนของอาจารย์ (ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญที่สุด) 2.2.1 ความเข้าใจปรัชญา หลักการ และโครงสร้างหลักสูตร 2.2.2 คุณวุฒิ ความรู้ความสามารถในสาขาวิชา และวิธีสอน 2.2.3 ความรัก ความปรารถนาดี ความทุ่มเทในการสอน 2.3 การประเมินตามสภาพจริง authentic assessment 3. การประเมินผล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำผลไปปรับปรุง

  20. Student is the most important การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ (PBL,RBL) Coop.Ed. หลักสูตรตามกรอบ TQF กิจกรรมนักศึกษา กิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ กิจกรรม IT การเรียนการสอน สื่อ แหล่งเรียนรู้ Student Centre บริบท

  21. คำกล่าวของ Arther Word 27

  22. อัตลักษณ์ วทส.:ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ Differently … i - Learn นักศึกษาสามารถเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติได้จริง บัณฑิตมีความสมบูรณ์พร้อมมีคุณภาพ และคุณลักษณะที่ตรงตามความต้องการ ขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต

  23. คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์

  24. สติปัญญาและวิชาการ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ สังคม คุณธรรม ทักษะและวิชาชีพ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

  25. คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีศีลธรรม มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบและกติกาสังคม คุณธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต

  26. สติปัญญาและวิชาการ

  27. สังคม รับผิดชอบตนเองและตระหนักในบทบาทของตนเองต่อสังคม เสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม สังคม

  28. ทักษะและวิชาชีพ การใช้ภาษาไทย การใช้ภาษาอังกฤษ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม การบริหารจัดการ การทำงานในสังคมต่างวัฒนธรรม

  29. สรุป

  30. TQF - Thai Qualifications Framework เป็นกระบวนการที่จะทำให้สามารถจัดหลักสูตรและ กระบวนการเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นหลักประกันว่าการศึกษามีมาตรฐาน อธิบายได้ ด้วยข้อมูล เอกสาร หลักฐานที่ปรากฎ

  31. Curriculum mapping รายวิชาที่พัฒนาขึ้นมา จะนำไปสู่การพัฒนาบัณฑิตในข้อใด - เป้าหมายหลัก - เป้าหมายรอง Abilities and skills in ASEAN Countries

  32. การบริหารจัดการหลักสูตรเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะการบริหารจัดการหลักสูตรเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนด พัฒนาอาจารย์ทั้งด้านวิชาการ วิธีการสอนและวิธีการวัดผล อย่างต่อเนื่อง จัดสรรทรัพยากร เพื่อการเรียนการสอนและการวิจัย ให้ เพียงพออย่างมีคุณภาพหรือใช้ทรัพยากรร่วมกัน จัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ครอบคลุม มาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกด้าน

  33. จัดให้มีรายงานผลการจัดการศึกษาเป็นรายวิชาทุกภาค • การศึกษาและเน้นรายหลักสูตรทุกปีการศึกษา (แบบ มคอ. 5 มคอ.6 และ มคอ. 7) • ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานอย่าง • ต่อเนื่อง และรายงานผลการจัดการศึกษาต่อสภา • สถาบันอุดมศึกษาทุกปีการศึกษา

  34. ขอขอบคุณ

More Related