220 likes | 739 Views
AUN-QA. ASEAN University Network - Quality Assurance. 1. เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน-การประกันคุณภาพ ASEAN University Network-Quality Assurance ( AUN - QA ) 2.จำนวนสมาชิก 10 ประเทศ รวมทั้ง Timor Leste เข้าร่วมการดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร.
E N D
AUN-QA ASEAN University Network -Quality Assurance
1.เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน-การประกันคุณภาพ1.เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน-การประกันคุณภาพ ASEAN University Network-Quality Assurance (AUN - QA) 2.จำนวนสมาชิก 10 ประเทศ รวมทั้ง Timor Leste เข้าร่วมการดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร
3. สำหรับ ประเทศไทย มีจำนวน 4 มหาวิทยาลัย ที่เป็นสมาชิก AUN-QA ได้แก่ 1.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.มหาวิทยาลัยมหิดล 3.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4.มหาวิทยาลัยบูรพา
4.วัตถุประสงค์ของ AUN-QA 4.1 เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ และประสบการณ์ ด้านการ-ประกันคุณภาพหลักสูตร ระหว่าง ยุโรป และอาเซียนในระดับอุดมศึกษา (Higher Education) 4.2 เพื่อเพิ่มศักยภาพและพัฒนาคุณภาพ การเรียนและการสอนรวมทั้งการยกระดับมาตรฐานของการประกันคุณภาพ ในอาเซียน 4.3 เพื่อความสอดคล้องซึ่งกันและกัน ของระบบการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของอาเซียน
5.เครือข่ายการขับเคลื่อนประกอบด้วย5.เครือข่ายการขับเคลื่อนประกอบด้วย 5.1 ASEAN University Network (AUN) 5.2 The ASEAN Quality Assurance Network (AQAN) 5.3 The Southeast Asian Ministers of Education Organisation Regional Centre for Higher Education and Development (SEAMEO RIHED) 5.4 The German Academic Exchange Service (DAAD) 5.5 The GermanRactors’ Conference (HRK) 5.6 The European Association for Quality A ssuranuce in Higher Education (ENQA) 5.7 Postdam University (Germany)
6.การพัฒนาการประกันคุณภาพ หลักสูตร ของ AUN-QA พ.ศ. 2541 การเริ่มการประชุม ของ AUN-QA พ.ศ. 2543 ข้อตกลงร่วมกัน ของ AUN-QA พ.ศ. 2544-2545 การกำหนดนโยบาย และการดำเนิน ของ Good Practices พ.ศ. 2546 การเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากสภาการรับรองมาตรฐาน และการประเมิน ระดับชาติ ณ.ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2547-2549 การกำหนด AUN-QA Guideline รวมทั้งการพัฒนา AUN-QA Manual พ.ศ. 2551-2553 การอบรมผู้ประเมิน AUN-QA พ.ศ.2553 การประเมินหลักสูตร ณ.ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศเวียดนาม
7.แผนการดำเนินการ 7.1 การประกันคุณภาพหลักสูตรภายใน (Internal QA ) 7.2 การประชุม การเสวนา และการวางแผน (Dialogue Meeting) 7.3 การดำเนินการชี้แจง ความเป็นมา AUN-QA (Introduction) 7.4 กระบวนการประเมินคุณภาพหลักสูตรภายใน (Preparing SAR) 7.5 การดำเนินการส่งการประเมินคุณภาพหลักสูตรภายใน (Submitting SAR) 7.6 การประเมินตนเอง จากเครือข่าย (Peer Assessment) 7.7 การตรวจเยี่ยมเพื่อประเมินคุณภาพ
8.เกณฑ์การประเมิน ของ AUN-QA for Programme Level 1.ผลลัพธ์ของความคาดหวังด้านการเรียน (Expected Learning Outcomes) 2.ความเฉพาะของหลักสูตร (Programme Specification) 3.โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร (Programme Structure and Content ) 4. กลยุทธ์การเรียนและการสอน (Teaching and Learning Strategy) 5. การประเมินผลนิสิต(Student Assessment) 6. คุณภาพของอาจารย์ (Academic Staff Quality) : ปัจจัยนำเข้า (Input) 7. คุณภาพของเจ้าหน้าที่ (Support Staff Quality)
8. คุณภาพนิสิต (Student Quality) 9. การสนับสนุนและการแนะแนวให้นิสิต (Student Advice and Support) 10. โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities and Infrastructures) 11. การประเมินคุณภาพของกระบวนการการเรียนและการสอน : ปัยจัยการดำเนินการ (Process) (Quality Assurance of Teaching and Learning Process) 12. กิจกรรม การพัฒนา บุคลากร (Staff Development Activities) 13. ผลสะท้อน ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stake holders Feed back) 14.ผลลัพธ์ (Output) : ปัจจัยนำออก (Output) 15.ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Satisfaction)