1 / 38

การศึกษาระบบการถอดรหัสเทอร์โบโค้ดโดยใช้ อัลกอริทึม SOVA และอัลกอริทึม MAP

การศึกษาระบบการถอดรหัสเทอร์โบโค้ดโดยใช้ อัลกอริทึม SOVA และอัลกอริทึม MAP. SOVA and MAP algorithms study for Turbo Decode Systems. รศ.สมยศ จุณณะปิยะ ASSC. PROF. SOMYOT JUNNAPIYA. นายภัทรพงษ์ ผาสุขกิจ MR.PATTARAPONG PHASUKKIT. วัตถุประสงค์.

calix
Download Presentation

การศึกษาระบบการถอดรหัสเทอร์โบโค้ดโดยใช้ อัลกอริทึม SOVA และอัลกอริทึม MAP

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาระบบการถอดรหัสเทอร์โบโค้ดโดยใช้อัลกอริทึม SOVA และอัลกอริทึม MAP SOVA and MAP algorithms study for Turbo Decode Systems รศ.สมยศ จุณณะปิยะ ASSC. PROF. SOMYOT JUNNAPIYA นายภัทรพงษ์ ผาสุขกิจ MR.PATTARAPONG PHASUKKIT

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจอัลกอริทึมที่นิยมนำมาใช้ในการถอดรหัสของชุดเข้ารหัสแบบเทอร์โบ • เข้าใจอัลกอริทึม SOVA และ MAP • เพื่อที่จะเป็นพื้นฐานในการนำเอาระบบเข้ารหัสแบบเทอร์โบไปประยุกต์ใช้ในระบบการสื่อสารต่าง ๆ • เพื่อที่จะทราบความแตกต่างและผลของระบบของชุดถอดรหัสแบบ SOVA และ MAP ว่าแตกต่างกันอย่างไร

  3. RSC ENCODER #1 INTERLEAVER RSC ENCODER #2 + D D + โครงสร้างของชุดเข้ารหัสแบบเทอร์โบโค้ด RSC ENCODER

  4. โครงสร้างของชุดถอดรหัสของเทอร์โบโครงสร้างของชุดถอดรหัสของเทอร์โบ ชุดถอดรหัส RSC ชุดที่ 1 INTERLEAVER DE-INTERLEAV ชุดถอดรหัส RSC ชุดที่ 2 OUTPUT

  5. วิธีการในการถอดรหัสเทอร์โบโค้ดแบบอัลกอริทึม MAP หลักการมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คำนวณหา Trellis Diagram ของชุดเข้ารหัสแบบ RSC ขั้นตอนที่ 2 คำนวณค่า ขั้นตอนที่ 3 นำค่าที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 มาคำนวณหาค่า LLR ขั้นตอนที่ 4 ทำการตัดสินข้อมูลเลือกว่าเป็นบิตข้อมูล 0 หรือ 1 skip

  6. ใช้สมการในการคำนวณ คือ ใช้สมการ ใช้สมการ

  7. คำนวณหาค่า L-extrinsic ใช้สมการ

  8. ถ้า น้อยกว่า 0 (มีค่าเป็นลบ) ตัดสินใจให้เป็นบิต 0 ถ้า มากกว่า 0 (มีค่าเป็นบวก) ตัดสินใจให้เป็นบิต 1

  9. วิธีการในการถอดรหัสเทอร์โบโค้ดแบบอัลกอริทึม SOVA มีรูปแบบในการถอดรหัสโดยจะใช้ ไดอะแกรมในการถอดรหัส

  10. วิธีการจำลองการทำงาน • จำลองการทำงานของระบบเข้ารหัส-ถอดรหัส แบบเทอร์โบ โดยใช้อัลกอริทึมแบบ MAP และ SOVA โดยใช้ขนาดของเฟรมเท่ากับ 192 บิท • จำลองการทำงานของระบบเข้ารหัส-ถอดรหัส แบบเทอร์โบ โดยใช้อัลกอริทึมแบบ MAP และ SOVA โดยใช้ขนาดของเฟรมเท่ากับ 1000 บิท

  11. ผลการจำลองการทำงาน #1 Parameter -เจเนอร์เรเตอร์ 7 และ 5 Iteration =8 randon interleaver AWGN Channel,BRSK

  12. ผลการจำลองการทำงาน #2 Parameter -เจเนอร์เรเตอร์ 7 และ 5 Iteration =8 randon interleaver AWGN Channel,BPSK

  13. สรุป -ระบบการถอดรหัสแบบใช้อัลกอริทึมแบบ MAP จะให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่า SOVA -ในการคำนวณ อัลกอริทึมแบบ MAP จะง่ายกว่า SOVA -ในการทางปฎิบัติ SOVA จะเป็นที่นิยมใช้ เนื่องจากมีความยุ่งยากน้อยกว่า MAP ซึ่งจะนิยมใช้ที่ขนาดของเฟรมข้อมูลมีค่ามาก

  14. จบการนำเสนอ

  15. followings are the computations of

  16. 1. Example of computing ใช้สมการ For example, at time k=3,

  17. 2. Example of computing For example, at time k=3,

  18. 3. Example of computing For example, at time k=3,

  19. 4. Example of computing For example, at time k=3,

  20. 5. Example of computing For example, at time k=3, input uk=1 input uk=0,

  21. 6. Example of computing given input uk=0. For example, at time k=3,

  22. L(uk) > 0---> 1 L(uk) < 0 --->0 BACK

More Related