230 likes | 635 Views
การประเมินผลการปฏิบัติงาน. Performance Appraisal. ความหมายของการประเมินผลการปฏิบัติงาน.
E N D
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน Performance Appraisal
ความหมายของการประเมินผลการปฏิบัติงานความหมายของการประเมินผลการปฏิบัติงาน หมายถึง ระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อหาคุณค่า ในลักษณะต่าง ๆ ของบุคคลที่ปฏิบัติงานในแง่ของผลการปฏิบัติงานว่าผลการปฏิบัติงานนั้นได้ผลหรือต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในการประเมินผลงานโดยปกติจะประเมินโดยผู้บังคับบัญชาโดยตรงของบุคคลนั้น ทั้งนี้จะต้องประเมินอยู่บนพื้นฐานของความเป็นระบบ มีมาตรฐาน มีเกณฑ์การประเมินที่มีประสิทธิภาพและเป็นธรรมต่อผู้ใต้บังคับบัญชา
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงานวัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน ใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาความดีความชอบแก่พนักงานทุกระดับ เพื่อเป็นข้อปฏิบัติอย่างยุติธรรม เพื่อเป็นหลักในการพิจารณาเปลี่ยนแปลงสถานะของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการวัดค่าการปฏิบัติงานของพนักงาน เป็นเครื่องชี้ถึงความแตกต่างของพนักงานในด้านต่าง ๆ เพื่อหาจุดเด่น และจุดด้อยของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อประโยชน์ในการกำหนดวิธีการฝึกอบรม
กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงาน กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน กำหนดแบบและลักษณะของงานที่จะประเมินผล กำหนดตัวผู้ประเมินและฝึกอบรมผู้ประเมิน - ใช้หัวหน้างานหรือผู้บังคับบัญชาโดยตรง (Immediate Supervisor Rating) - ใช้ผู้ร่วมงานที่อยู่ในระดับเดียวกัน (Peer Rating) - ใช้คณะกรรมการ (Rating Committees) - ใช้การประเมินตนเอง (Self Rating) - การใช้ผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นผู้ประเมิน (Subordinate Appraising) - การใช้ผู้บังคับบัญชาหลายระดับประเมินผล กำหนดวิธีการประเมินผล การวิเคราะห์ผล และการนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์
การประเมินโดยกราฟ (Graphic Rating Scales) การจัดลำดับ (Graphic Rating Scales) การกระจาย (Force Distribution) การตรวจสอบรายการ (Check List) การบันทึกเหตุการณ์สำคัญ (Critical Incidents) การทบทวนการปฏิบัติงาน (Field Rewiew) การเขียนผลงาน (Free-From Essay) การประเมินโดยกลุ่ม(Group Appraisal) การประเมินตามผลงาน (Appraisal By Results) เทคนิควิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การแจ้งผลการประเมินการปฏิบัติงานแก่ผู้ถูกประเมินการแจ้งผลการประเมินการปฏิบัติงานแก่ผู้ถูกประเมิน แจ้งแบบผู้พิจารณา (Tell and sell) แจ้งผลโดยการรับฟัง ข้อคิดเห็นจากผู้รับแจ้ง (Tell and listen) แจ้งแบบแก้ปัญหา (Problem solving)
ความเกี่ยวข้องโดยตรง (Relevance) เป็นที่ยอมรับ ความเชื่อถือได้ (Reliability) มีความสามารถในการจำแนก มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ (Practicality) ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เนื่องจากมาตรฐานที่ไม่ชัดเจน การประเมินโดยใช้ความรู้สึกมากกว่าข้อมูล ประเมินตามแนวโน้มสายกลาง (Central tendency) ประเมินโดยมุ่งให้ทุกคนพอใจ ประเมินโดยพิจารณาเฉพาะผลงานหรือพฤติกรรมที่เพิ่งเกิดขึ้น ประเมินโดยใช้ตัวผู้ประเมินเข้าไปแข่งขันด้วย เนื่องจากการปล่อยหรือกดคะแนน (leniency or stricness) การมีหลักฐานไม่เพียงพอ (Insufficient evidence) อิทธิพลของหน่วยงาน (Organizational influence) ความแตกต่างของตัวผู้ทำการประเมิน (Individual differences) ปัญหาในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เป็นวิธีที่ใช้หาค่าของพนักงานในแง่การปฏิบัติงานและประสิทธิภาพในการทำงานโดยอาศัยหลักเกณฑ์และวิธีการต่างๆ อย่างปราศจากอคติใดๆ เพื่อให้ผู้บริหารใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจในการพิจารณาความดีความชอบ วินิจฉัย ปรับปรุง ส่งเสริมและพัฒนาพนักงานให้มีคุณภาพมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็เป็นการส่งเสริมพนักงานให้มีความพอใจและสร้างขวัญและกำลังใจในหมู่พนักงาน วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานแบ่งออกเป็น การประเมินด้วยกราฟ การจัดลำดับ การกระจาย การตรวจสอบ การบันทึกเหตุการณ์สำคัญ การทบทวนการปฏิบัติงาน การเขียนรายงาน การประเมินโดยกลุ่ม และการประเมินติดตามงาน สรุปการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงานต้องมีรากฐานความยุติธรรมเป็นสำคัญ ใช้ระบบคุณธรรมเป็นที่ตั้ง เพื่อทำการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากรให้สามารถนำองค์กรไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ได้ การออกแบบระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานต้องยึดหลักการกระตุ้นและสนับสนุนให้ผู้ประเมินและผู้ถูกประเมินมีความเข้าใจอันดีต่อกัน เสริมสร้างแรงจูงใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพื่อความสำเร็จขององค์การเป็นจุดหมายปลายทาง