370 likes | 738 Views
การ วิเคราะห์ผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวม ( TFP) ตามแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรม. ดร. เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th. วัตถุประสงค์การศึกษา.
E N D
การวิเคราะห์ผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวม (TFP) ตามแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรม ดร. เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th
วัตถุประสงค์การศึกษา • เพื่อวัดผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวม (TFP) และการเติบโตผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวม (TFPG) ของภาคอุตสาหกรรมโดยใช้ข้อมูลในระดับหน่วยผลิตจาก รง. 9 ระหว่างปี 2546 – 2547 • เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ TFP • นำผลการศึกษาไปใช้ในการวิเคราะห์แผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรม
ความสำคัญของปัญหา จากงานศึกษาในอดีตพบว่าแม้ประเทศไทยจะมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง แต่การเติบโตของเศรษฐกิจส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการขยายตัวของปัจจัยการผลิตมากกว่าการขยายตัวของผลิตภาพการผลิต
วัตถุประสงค์หลักของแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมวัตถุประสงค์หลักของแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรม เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพ เพื่อแก้ไขปัญหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันให้กับภาคอุตสาหกรรมของไทยให้สามารถอยู่รอดและแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก เพื่อผลักดันให้ภาคเอกชนมีบทบาทในการพัฒนาด้วยตนเอง และให้ความสำคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ โดยร่วมมือกับภาครัฐในการร่วมคิดร่วมทำ (Collaboration)
กรอบการวิเคราะห์ การวัดผลิตภาพการผลิต วัดจาก Total Factor Productivity (TFP) การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพการผลิต Total Factor Productivity Growth (TFPG) การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา การศึกษาจะใช้ข้อมูลในระดับหน่วยผลิต จากแบบสำรวจโรงงานประจำปี (รง.9) ของสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ในช่วงปี 2546-2547 รายสาขาอุตสาหกรรมที่ระดับ ISIC 2 หลัก (ISIC15 – 37) ประกอบด้วยกลุ่มอุตสาหกรรม 23 กลุ่ม จะทำการศึกษาทั้งในภาพรวม และการศึกษารายอุตสาหกรรมในระดับ ISIC 2 หลัก
1. การวัดผลิตภาพการผลิต วัดจาก Total Factor Productivity (TFP) หรือ Capital-Labor Multifactor Productivity (K-L MFP) based on value addedoutput กำหนดให้ปัจจัยการผลิตประกอบด้วย K และ L การประมาณค่าดัชนีผลิตภาพการผลิตด้วยวิธี Parametric Approach กำหนดให้ฟังก์ชันการผลิตเป็นแบบ Cobb-Douglas และ Translog
1.1 การประมาณค่าดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) โดยกำหนดฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Cobb-Douglas ฟังก์ชั่นการผลิตในรูปแบบของ Cobb-Douglas โดยที่ Y = มูลค่าเพิ่มของผลผลิต K = มูลค่าทุน (Capital Stock) L = มูลค่าแรงงาน A = ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซึ่งกำหนดให้เป็นค่าที่ไม่สามารถวัดได้ จากการเก็บข้อมูล α = ความยืดหยุ่นของการใช้ปัจจัยทุนต่อมูลค่าเพิ่ม β = ความยืดหยุ่นของการใช้ปัจจัยแรงงานต่อมูลค่าเพิ่ม i= หน่วยผลิต (i)
1.1 การประมาณค่าดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) โดยกำหนดฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Cobb-Douglas จาก จัดให้อยู่ในรูปnatural logarithm สมการที่ใช้ในการประมาณค่าคือ โดยที่ c = ค่าคงที่ (ตามข้อจำกัดทางเทคนิคของสมการถดถอย) εi= ตัวแปรสุ่มที่ไม่ทราบค่าที่มีผลต่อฟังก์ชั่นการผลิต รวมถึงระดับเทคโนโลยี ของแต่ละหน่วยผลิตที่ไม่ทราบค่าและปัจจัยที่ไม่สามารถสังเกตได้อื่นๆ นอกเหนือจากปัจจัยการผลิต L และ K
1.1 การประมาณค่าดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) โดยกำหนดฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Translog • ฟังก์ชั่นการผลิตในรูปแบบของ Translog • สมการที่ใช้ในการประมาณค่าคือ
2.การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวม(TFPG)2.การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวม(TFPG) • ใช้วิธี Growth Accounting Approach • สมมติฟังก์ชั่นการผลิตอยู่ในรูปสมการทั่วไป • เมื่อทำ total differentiate • จัดรูป SL = = ค่าความยืดหยุ่นของผลผลิตต่อแรงงาน SK = = ค่าความยืดหยุ่นของผลผลิตต่อปัจจัยทุน = การเปลี่ยนแปลงตามเวลา
การวัดตัวแปร Y, K, และ L ตัวแปรมูลค่าเพิ่มของผลผลิต(Y): วัดจาก มูลค่าเพิ่ม (Y)= มูลค่าการจำหน่ายรวม - มูลค่าวัตถุดิบ – ค่าเชื้อเพลิงและพลังงาน – ต้นทุนค่าจ้าง ตัวแปรมูลค่าทุน (K): วัดจาก ทุน (K) = สินทรัพย์ถาวรสุทธิ x อัตราการใช้กำลังการผลิต โดยที่อัตราการใช้กำลังการผลิต = มูลค่าการผลิตจริงมูลค่ากำลังการผลิต มูลค่าการผลิตจริง = ปริมาณการผลิตจริง x ราคาสินค้า (บาทต่อหน่วย) มูลค่ากำลังการผลิต =กำลังการผลิตต่อปี x ราคาสินค้า (บาทต่อหน่วย) ตัวแปรมูลค่าแรงงาน (L): วัดจากจำนวนเงินค่าตอบแทนแรงงานทั้งหมด
3. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต • ขนาดของหน่วยผลิต • นวัตกรรมภายในหน่วยผลิต process innovation vs. product innovation embodied R&D (Industries of use) vs. own process R&D (Industry of origin) • ระดับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ • ระดับการส่งออก • ความเข้มข้นในการใช้ปัจจัยการผลิตของหน่วยผลิต • ลักษณะหรือคุณภาพของแรงงาน
3. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
3. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
สมการปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิตสมการปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
ความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บท
ผลการศึกษา การวัดผลิตภาพการผลิต วัดจาก Total Factor Productivity (TFP) การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพการผลิต Total Factor Productivity Growth (TFPG) การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
) 1. การวัดผลิตภาพการผลิต Total Factor Productivity (TFP)
ผลการประมาณค่าสมการการผลิตแบบ Cobb-Douglas และ แบบ Translog สำหรับปี 2546
ค่าเฉลี่ย TFP รายอุตสาหกรรมสำหรับอุตสาหกรรมที่มีค่า TFP มากกว่าค่าเฉลี่ยรวม (100)
สรุป (TFP) • จาก 23 อุตสาหกรรม (ISIC 15-37) มีเพียง 8 อุตสาหกรรมที่มีค่า TFP สูงกว่าค่าเฉลี่ย • อุตสาหกรรมที่มีค่า TFP สูงสุด คือ อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ถ่านโค้ก ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม และเชื้อเพลิงปรมาณู (ISIC 23)
2. การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพการผลิต Total Factor Productivity Growth (TFPG)
ปัจจัยการผลิตที่สนับสนุนอัตราการเจริญเติบโตของมูลค่าเพิ่มของผลผลิตในปี 2546
ค่าเฉลี่ย TFPG รายอุตสาหกรรม ในปี 2546 กรณีค่า TFPG> 0
สรุป (TFPG) • ค่า TFPG ปี 2546 ติดลบ = -0.630 ส่งผลให้อัตราการเติบโตของมูลค่าเพิ่มของผลผลิตไม่มากดังที่ควรจะเป็น แม้ว่าจะมีการเติบโตของปัจจัยการผลิตทั้งปัจจัยทุนและปัจจัยแรงงานก็ตาม • อุตสาหกรรมที่มีการเติบโตมากที่สุดในปี 2546 คือ อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ (ISIC 21)
3. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
ผลจาก OLS regression ในการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิตการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิตการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต
สรุป • หน่วยผลิตที่มีขนาดใหญ่จะมีผลิตภาพการผลิตต่ำกว่าหน่วยผลิตขนาดเล็ก • หน่วยผลิตที่มี R&D, FDI, export, K/Lสูง มีแนวโน้มจะที่จะมี TFP สูง • การฝึกอบรมแรงงานวิชาชีพฝ่ายผลิต (train1) และ แรงงานฝ่ายผลิตที่มีฝีมือ(train2) ไม่มีผลต่อการเพิ่มผลิตภาพการผลิตอย่างมีนัยสำคัญ • การฝึกอบรมแรงงานฝ่ายผลิตทีไร้ฝีมือ (train3) และ การฝึกอบรมแรงงานอื่นๆ ซึ่งอาจรวมถึง ผู้ปฏิบัติงานด้านบริหาร งานขาย และงานบริการ เป็นต้น (train4) มีผลทำให้ผลิตภาพการผลิตสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
ความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บท