360 likes | 660 Views
บทที่ 9. การบัญชีต้นทุนตอน(ต่อ). ปริมาณ การผลิต. WIP ต้นงวด 1,000 เริ่มผลิต 9,000 10,000 ผลิต เสร็จ 7,000 WIP ปลายงวด 3 ,000 10,000. ปริมาณ การผลิต. WIP ต้นงวด 1,000 เริ่มผลิต 9,000 หน่วยเพิ่ม - 10,000 ผลิตเสร็จ 7,000
E N D
บทที่ 9 การบัญชีต้นทุนตอน(ต่อ)
ปริมาณการผลิต WIP ต้นงวด 1,000 เริ่มผลิต 9,000 10,000 ผลิตเสร็จ 7,000 WIP ปลายงวด 3,00010,000
ปริมาณการผลิต WIP ต้นงวด 1,000 เริ่มผลิต 9,000 หน่วยเพิ่ม -10,000 ผลิตเสร็จ 7,000 WIP ปลายงวด 1,200 หน่วยเสีย/สูญ 1,80010,000
หน่วยเสีย/สูญ 1. สินค้าเสีย (Spoilage) สินค้าผลิตเสร็จแล้ว แต่ไม่ได้คุณภาพ แก้ไขไม่ได้อีกแล้ว 2. สิ่งสูญเสีย (Waste material) จำนวนที่หมดไปโดยเปล่าประโยชน์เนื่องจากกรรมวิธีการผลิต 3. เศษวัสดุ (Scrap material) วัตถุดิบส่วนที่เหลือกจากการใช้ผลิต ไม่สามารถใช้ผลิตต่อไปได้ 2. สินค้าด้อยคุณภาพ (Defective Unit) สินค้าที่ผลิตไม่ได้คุณภาพ แต่สามารถนำไปแก้ไขจนเป็นหน่วยดีได้ หรือแก้ได้บ้าง
การบัญชีเกี่ยวกับหน่วยเสีย(สูญ)การบัญชีเกี่ยวกับหน่วยเสีย(สูญ) 1. ไม่คำนึงถึงหน่วยเสียที่เกิดขึ้น นับเฉพาะหน่วยดี -> จำนวนหน่วยน้อย -> ต้นทุนต่อหน่วยสูงขึ้น 2. คิดต้นทุนให้หน่วยเสีย นับทั้งหน่วยดีและหน่วยเสีย - หน่วยเสียปกติ รวมเป็นต้นทุนของหน่วยดี - หน่วยเสียเกินปกติ แยกเป็นผลขาดทุนใน P/L
หน่วยเสียปกติ • หน่วยเสียที่เกิดขึ้นภายใต้สภาวะการณ์ดำเนินงานที่มี ประสิทธิภาพ • หน่วยเสียที่หลีกเลี่ยงไม่ได้อันเนื่องจากการผลิตตามปกติ
หน่วยเสียเกินปกติ (Abnormal Spoilage) • หน่วยเสียที่กิจการไม่ได้คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นภายใต้สภาวะการณ์ดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ • หน่วยเสียที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ หากการผลิตนั้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
หน่วยเสียเกินปกติ • หาหน่วยเทียบเท่า • ทราบต้นทุน • ปรับปรุงเป็นผลขาดทุนหน่วยเสียเกินปกติ -> P/L Dr. ผลขาดทุนจากสินค้าเสียเกินปกติ xx Cr. งานระหว่างสินค้า xx
หน่วยเสียปกติ ถือเป็นต้นทุนของหน่วยดี หน่วยใด ? -> ผลิตเสร็จ -> ไม่สำเร็จ ให้ดูขั้นความสำเร็จกับจุดตรวจสอบ ดูว่าขั้นความสำเร็จของ WIP ปลายงวด ถึงจุดตรวจสอบแล้วหรือไม่
ตัวอย่าง WIP ปลายงวด ณ ขั้น 30% จุดตรวจสอบอยู่ที่ขั้น 70%
100% จุดตส.70% WIP30% หน่วยเสีย 1. ผลิตเสร็จ= หน่วยดี + หน่วยเสีย 2. WIP ปลายงวด= หน่วยดี
ตัวอย่าง WIP ปลายงวด ณ ขั้น 30% จุดตรวจสอบอยู่ที่ขั้น 20%
20% 100% WIP30% 1. ผลิตเสร็จ = หน่วยดี + หน่วยเสีย 2. WIP ปลายงวด = หน่วยดี + หน่วยเสีย
จุดตส. 100% หน่วยเสีย WIP 40% จุดตส.40% หน่วยเสีย WIP80% จุดตรวจสอบ 100% WIP ปลายงวด 40% จุดตรวจสอบ 40% WIP ปลายงวด 80%
WIP ปลายงวด ไม่ถึงจุดตรวจสอบ • ต้นทุนหน่วยเสียรวมเป็นต้นทุนของหน่วยที่ผลิตเสร็จ นั่นคือ • คำนวณหน่วยเทียบเท่าหน่วยเสีย • ทราบต้นทุนหน่วยเสีย • รวมต้นทุนหน่วยผลิตเสร็จ (ไม่ต้องปันส่วนต้นทุนหน่วยเสียให้หน่วยดีที่เป็น WIP ปลายงวด)
หน่วยสินค้า เปอร์เซ็นต์ที่แล้วเสร็จ จำนวน วัตถุดิบ แปลงสภาพ 100% 20,000 100% ผลิตเสร็จ 4,000 100% 40% งานระหว่างทำปลายงวด 100% 3,000 100% หน่วยเสีย WIP ปลายงวดไม่ถึงจุดตรวจสอบ ต้นทุนของหน่วยเสียรวมเป็นต้นทุนของหน่วยที่ผลิตเสร็จ ไม่ต้องเฉลี่ยต้นทุนให้หน่วยดีที่เป็น WIP ปลายงวด
WIP ปลายงวดไม่ถึงจุดตรวจสอบ ต้นทุนหน่วยสินค้าที่ผลิต • ต้นทุนที่โอนออก หน่วยดีผลิตเสร็จ 190,000.- หน่วยเสียปกติ 19,000.- ต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ 209,000.- หน่วยเสียเกินปกติ 9,500.- รวมต้นทุนโอนออก 218,500.- • WIP ปลายงวด 30,200.- รวม 248,700.-
WIP ปลายงวดผ่านจุดตรวจสอบ การแบ่งต้นทุนหน่วยเสียให้หน่วยดี ทั้ง ผลิตเสร็จ และ ไม่เสร็จ (ปันส่วน) • คำนวณหน่วยเทียบเท่าหน่วยเสีย • ทราบต้นทุนหน่วยเสีย • แบ่งต้นทุนหน่วยเสียให้หน่วยดีทั้งผลิตเสร็จและWIP 1.1 แบ่งตามเกณฑ์ปริมาณสินค้า 1.2 แบ่งตามสัดส่วนหน่วยเทียบเท่า
หน่วยสินค้า เปอร์เซ็นต์ที่แล้วเสร็จ จำนวน วัตถุดิบ แปลงสภาพ 100% 20,000 100% ผลิตเสร็จ 4,000 100% 80% งานระหว่างทำปลายงวด 100% 3,000 50% หน่วยเสีย WIP ปลายงวดผ่านจุดตรวจสอบ ต้นทุนของหน่วยเสียเฉลี่ยเป็นต้นทุนของหน่วยที่ผลิตเสร็จ และ WIP ปลายงวด
WIP ปลายงวดผ่านจุดตรวจสอบ • ต้นทุนหน่วยสินค้าที่ผลิต :- • ต้นทุนที่โอนออก • หน่วยดีผลิตเสร็จ 186,710.- • บวก หน่วยเสียปกติ 14,155.- • ต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ 200,865.- • หน่วยเสียเกินปกติ 8,469.- • รวมต้นทุนโอนออก 209,334.-
WIP ปลายงวดผ่านจุดตรวจสอบ(ต่อ) WIP ปลายงวด 36,585.- บวก หน่วยเสียปกติ 2,781.- รวมต้นทุน WIP ยกไป 39,366.- รวม 248,700.-
กรณีมี WIP ต้นงวด สินค้าผลิตเสร็จ เริ่มงวดก่อน เริ่มงวดปัจจุบัน ต้นทุนสินค้า 2 จำนวน อาจไม่เท่ากัน แม้เสร็จในเดือนเดียวกัน
การคำนวณมูลค่าของสินค้าที่ผลิตเสร็จในกรณีมีงานระหว่างทำต้นงวดการคำนวณมูลค่าของสินค้าที่ผลิตเสร็จในกรณีมีงานระหว่างทำต้นงวด 1. วิธีถัวเฉลี่ย สินค้าทุกหน่วยไม่ว่าจะเริ่มผลิตในงวดก่อนหรืองวดปัจจุบัน จะมีต้นทุนต่อหน่วยเท่ากันหมด 2. วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน สินค้าที่เริ่มผลิตในช่วงเวลาต่างกันแม้จะผลิตเสร็จพร้อมกันก็อาจมีต้นทุนต่างกันจึงควรแยกต้นทุนกัน
การคิดแบบ Average ต้นทุนรวม ต้นทุนยกมา 14 ต้นทุนในงวด 9 + 25 48 ต้นทุน@ 48 = 24.00 2
2 3 2 3 2 3 10 10 2 3 2 3 การคิดแบบ FIFO มค. กพ. 2 3 2 10 3 3 = 25 = 20 = 14 + 9 = 23
ข้อสมมติฐานการคิดต้นทุนวิธี FIFO สินค้าที่เริ่มทำก่อน จะเสร็จก่อน โครงสร้างต้นทุน เสร็จ: เริ่มงวดก่อน = ยกมา + ในงวด เริ่มงวดปัจจุบัน = ในงวด WIP ปลายงวด = ในงวด + งวดหน้า
ส่วนประกอบส่วนที่ 4 - ต้นทุนชนิดสินค้าที่ผลิต • หน่วยผลิตโอนออก • -เริ่มทำในงวดก่อน • ต้นทุนยกมา • บวก ต้นทุนในงวด • รวม • -เริ่มผลิตในงวด • รวมต้นทุนหน่วยผลิตเสร็จ
ข้อควรคำนึงถึงการเลือกใช้วิธีการคำนวณมูลค่าสินค้าที่ผลิตเสร็จข้อควรคำนึงถึงการเลือกใช้วิธีการคำนวณมูลค่าสินค้าที่ผลิตเสร็จ • เลือกวิธีที่งานและสะดวกกว่า เว้นแต่ • ปัจจัยการผลิตในแต่ละเดือนมีต้นทุน แตกต่างกันมาก -> วิธี FIFO • ปัจจัยการผลิตในแต่ละเดือนมีต้นทุน ไม่แตกต่างกันมาก-> วิธีถัวเฉลี่ย
หน่วยเพิ่มในกระบวนการผลิตหน่วยเพิ่มในกระบวนการผลิต ผลของการเพิ่มวัตถุดิบในกระบวนการผลิตอาจจะมีผลต่อปริมาณและต้นทุนการผลิตดังนี้ 1. ไม่มีผลต่อปริมาณการผลิต แต่ต้นทุนการผลิตเพิ่ม คือการใช้วัตถุดิบในกระบวนการผลิตโดยวัตถุดิบที่ใช้เพิ่มนี้อาจมีผลเพียงให้สินค้ามีลักษณะเปลี่ยนไปแต่จำนวนยังคงเดิม 2. มีผลต่อทั้งปริมาณการผลิต และต้นทุนการผลิต ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากเดิมมีผลทำให้ ต้นทุนต่อหน่วยที่รับโอนมาลดลง
หน่วยสูญในกระบวนการผลิตหน่วยสูญในกระบวนการผลิต 1. สินค้าเสียหรือหน่วยเสีย 2.สินค้าด้อยคุณภาพ 3. สิ่งสูญเสีย 4. เศษวัสดุ
การบัญชีเกี่ยวกับสินค้าเสียหรือหน่วยเสียการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าเสียหรือหน่วยเสีย สินค้าเสียหรือหน่วยเสีย หมายถึง สินค้าที่ผลิเสร็จแล้วไม่ได้คุณภาพหรือมาตรฐานและไม่สามารถแก้ไขหรือซ่อมแซมได้อีก มีวิธีปฏิบัติ 2 วิธี 1 ไม่ต้องคำนึงถึงหน่วยเสียที่เกิดขึ้น การคำนวณต้นทุนที่ผลิตได้มาตรฐานหรือหน่วยดีเท่านั้น 2 มีการคิดต้นทุนให้กับหน่วยเสีย นอกจากจะต้องคำนึงถึงจำนวนหน่วยเสียปกติและเกินกว่าจำนวนหน่วยเสียปกตินั้น จะต้องมีกาพิจารณาถึงจุดที่ทำการตรวจสอบหน่วยเสียด้วย โดยผลขาดทุนจากหน่วยเสียปกติจะเฉลี่ยเป็นต้นทุนของหน่วยดี
2.1 ผลขาดทุนจากหน่วยเสียปกติ จะเฉลี่ยเป็นต้นทุนของหน่วยดีเนื่องจากกิจการยอมรับจำนวนของหน่วยเสียปกติอยู่แล้ว 2.1.1 ขั้นความสำเร็จของงานระหว่างทำปลายงวดยังไม่ถึง จุดตรวจสอบหน่วยเสีย 2.1.2 ขั้นความสำเร็จของงานระหว่างทำปลายงวดเกินจุด ตรวจสอบหน่วยเสีย 2.2 ผลขาดทุนจากหน่วยเสียเกินปกติ ต้นทุนของหน่วยเสียปกติไม่ควรทำให้ต้นทุนของหน่วยดีสูงขึ้นควรมีการแยกต้นทุนของหน่วยเสียเกินปกติให้เห็นเด่นชัดแล้วบันทึกบัญชีเป็นค่าช้าจ่ายประจำงวด Dr. ผลขาดทุนจากสินค้าเสียเกินปกติ xx Cr. งานระหว่างทำ-แผนก........ xx
การบัญชีเกี่ยวกับสินค้าด้อยคุณภาพการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าด้อยคุณภาพ สินค้าด้อยคุณภาพ หมายถึง สินค้าที่ผลิตแล้วไม่ได้คุณภาพ แต่ยังสามารถนำไปแก้ไขได้อีก การบันทึกบัญชีสามารถบันทึกได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. ต้นทุนที่ใช้ในการแก้ไขสินค้าด้อยคุณภาพตามปกติ Dr.งานระหว่างทำ-แผนก....... xx Cr.วัตถุดิบ xx ค่าแรง xx ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร xx 2. ต้นทุนที่ใช้ในการแก้ไขสินค้าด้อยคุณภาพผิดปกติ Dr.ผลขาดทุนจากสินค้าด้อยคุณภาพผิดปกติ xx Cr. วัตถุดิบ xx ค่าแรง xx ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร xx
การบัญชีเกี่ยวกับสิ่งสูญเสียการบัญชีเกี่ยวกับสิ่งสูญเสีย หมายถึง จำนวนที่หมดไปโดยเปล่าประโยชน์เนื่องจากกรรมวิธีการผลิต กลายเป็นส่วนที่ไม่มีมูลค่า โดยทั่วไปไม่มีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสิ่งสูญเสียที่เกิดขึ้น เนื่องจากถือว่าเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้นทุนการผลิตของสิ่งสูญเสียจึงถูกรวมในบัญชีงานระหว่างทำ
การบัญชีเกี่ยวกับเศษวัสดุการบัญชีเกี่ยวกับเศษวัสดุ หมายถึง การใช้วัตถุดิบในการผลิตและเหลือเป็นเศษวัตถุดิบไม่สามารถใช้ในการผลิตอีกต่อไป การบันทึกบัญชีทำได้ 2 ลักษณะ 1. ถ้ามูลค่าเศษวัสดุมีการประมาณขึ้น Dr.เงินสด xx Cr.ค่าใช้จ่ายโรงงาน xx 2. ถ้ามูลค่าเศษวัสดุไม่มีการประมาณขึ้น Dr.เงินสด xx Cr.งานระหว่างทำ-แผนก........ xx
การคำนวณต้นทุนการผลิตตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน (FIFO) การคำนวณต้นทุนการผลิตแบบเข้าก่อนออกก่อนจะแยกต้นทุนการผลิตที่เป็นของงานระหว่างทำต้นงวดยกมาและต้นทุนกาผลิตที่เกิดขึ้นในงวดปัจจุบันออกจากกัน โดยถือว่าสินค้าที่เริ่มผลิตในช่วงเวลาต่างกันย่อมมีต้นทุนการผลิตแตกต่างกัน • วิธีเข้าก่อนออกก่อนถือว่าสินค้าที่เริ่มผลิตก่อนจะเป็นสินค้าที่ผลิตเสร็จก่อน • ในกรณีของงานระหว่างทำต้นงวดจึงถูกสมมติว่าต้องทำการผลิตเป็นอันดับแรก • ต้นทุนของสินค้าที่เริ่มผลิตในงวดก่อนและนำมาผลิตต่อในงวดปัจจุบันจะมีต้นทุนประกอบด้วย ต้นทุนที่ยกมาจากงวดก่อน บวกกับต้นทุนที่ใช้เพิ่มในงวดปัจจุบัน • ต้นทุนของสินค้าที่เริ่มผลิตในงวดปัจจุบันย่อมเป็นสินค้าที่ไม่มีต้นทุนยกมา มีแต่ต้นทุนที่เกิดขึ้นในงวดปัจจุบัน หากมีการผลิตจนแล้วเสร็จสมบูรณ์ • งานระหว่างทำปลายงวดเป็นสินค้าที่มีการใช้ต้นทุนในงวดปัจจุบันและเกิดต้นทุนการผลิตในงวดบัญชีถัดไปด้วย