630 likes | 806 Views
รายงานมาตรฐาน. การประกันคุณภาพภายใน. WELCOME. ปีการศึกษา 2553. โดย สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ. วิสัยทัศน์. มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ ความสามารถ ด้านทักษะวิชาชีพ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ ควบคู่กับ คุณธรรม จริยธรรม ได้มาตรฐานวิชาชีพ
E N D
รายงานมาตรฐาน การประกันคุณภาพภายใน WELCOME ปีการศึกษา 2553 โดย สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ ความสามารถ ด้านทักษะวิชาชีพ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ ควบคู่กับ คุณธรรม จริยธรรม ได้มาตรฐานวิชาชีพ เพื่อให้ไปประกอบอาชีพ ศึกษาต่ออย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถดำรงตน อยู่ร่วมกับสังคมอย่างมีความสุข
ปรัชญาการจัดการศึกษา • “ เรียนให้รู้ ดูให้จำ • ทำให้เป็น เน้นองค์กร ”
พันธกิจ • จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมและตามศักยภาพของผู้เรียน
พันธกิจ • จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี เป็นสื่อในการแสวงหาความรู้ จากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ
พันธกิจ • นำระบบสารสนเทศมาใช้ เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พันธกิจ • จัดสภาพแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้
พันธกิจ • ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพ จริยธรรมในวิชาชีพ
เป้าประสงค์ เป้าหมายที่ 1 ใช้การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และตอบสนองความต้องการของสังคม
เป้าประสงค์ เป้าหมายที่ 2 มุ่งเน้นพัฒนาทักษะ ความรู้ ของครูผู้สอนให้ทันกับความ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
เป้าประสงค์ เป้าหมายที่ 3 มุ่งเน้นผู้เรียน ให้เกิดความรู้ และความสามารถในวิชาชีพ ของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ
เป้าประสงค์ เป้าหมายที่ 4 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และทัศนคติ ที่ดีทางด้านวิชาชีพ แก่ผู้เรียนทุกระดับ
การวิเคราะห์ SWOT ของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจจุดแข็ง • เป็นสาขาวิชาที่มีเทคโนโลยีทันสมัย • มีการกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ชัดเจน • ผลการเรียนของนักเรียนโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง
การวิเคราะห์ SWOT ของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจจุดอ่อน • ครูมีการโยกย้ายสถานศึกษาบ่อย • วัสดุอุปกรณ์ขาดคุณภาพ และงบซ่อมบำรุงน้อย • แหล่งเรียนรู้ในวิทยาลัยฯ มีไม่เพียงพอ • ความเร็วอินเตอร์เน็ตต่ำ
การวิเคราะห์ SWOT ของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โอกาส • การส่งเสริมบรรจุแต่งตั้งบุคลากรให้ดำรงตำแหน่งที่มีความมั่นคง • คอมพิวเตอร์มีราคาถูกลงทำให้ผู้เรียนสามารถซื้อใช้เพื่อฝึกทักษะด้วยตนเอง • ผู้ปกครองส่วนใหญ่ให้ความสนับสนุน
การวิเคราะห์ SWOT ของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจอุปสรรค • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ต้องปรับหลักสูตรบ่อย • ไม่มีอัตราเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง • บุคลากรทำหน้าที่พิเศษมาก • ไวรัสคอมพิวเตอร์ • งบประมาณในการบริหารจัดการ
สาขาวิชาที่เปิดสอน • ระดับ ปวช. • สาขางาน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ • ระดับ ปวส. • สาขางาน เทคโนโลยีสำนักงาน
นายพัฒน์สาริทธิ์ มณีเขียว หัวหน้าสาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ นางมทิรา ยอดวิมล (ครู คศ. ๑) นายนที เหลืองอ่อน (ครูพิเศษสอน) นางสาวผกายมาศ เขียวสอาด (ครูพิเศษสอน) นายวรวุฒิ เกตานนท์ (ครูพิเศษสอน) นางนริศรา เกตานนต์ (ครูพิเศษสอน) • แผนภูมิโครงสร้างการบริหาร
สรุปผลการประเมินมาตรฐานและตัวบ่งชี้ภายในสาขางานสรุปผลการประเมินมาตรฐานและตัวบ่งชี้ภายในสาขางาน
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ
มาตรฐานที่ 1 จุดเด่น • ผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร ปวช. และ ปวส. ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จากสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน • ผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร ปวช. และ ปวส. มีงานทำเป็นจำนวนมาก
มาตรฐานที่ 1 จุดเด่น • ผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร ปวช. และ ปวส. ได้ศึกษาต่อเป็นจำนวนมาก • สาขางานมีการปฏิบัติงานตามระเบียบ การเทียบโอนผลการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 1 จุดที่ควรพัฒนา • ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษา รู้จักการวางแผนธุรกิจ • ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษา มีความมุ่งมั่นและตั้งใจเรียน
มาตรฐานที่ 1 แนวทางการพัฒนา • จัดหางบประมาณ และวางแนวทางการวางแผนธุรกิจให้ผู้เรียน • ควรจัดการเรียนการสอนเพิ่มเติม หรือ ติวก่อนสอบ
มาตรฐานที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 2 จุดเด่น • สาขางานมีหลักสูตรรายวิชาสอดคล้องกับความต้องการของสังคม • สาขางานมีการสำรวจความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอน
มาตรฐานที่ 2 จุดเด่น • มีสถานประกอบการร่วมจัดการศึกษา ระบบทวิภาคีและระบบปกติ • สาขางานมีการส่งแผนการสอนครบทุกวิชา
มาตรฐานที่ 2 จุดที่ควรพัฒนา • งบประมาณการจัดซื้อวัสดุฝึก • ความเหมาะสมในการจัดอาคารเรียน ศูนย์วิทยบริการ • การระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 2 แนวทางการพัฒนา • จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะให้เพียงพอ • จัดหาครูผู้สอนให้เพียงพอต่อจำนวนผู้เรียน • จะจัดหาผู้เชี่ยวชาญ เพิ่มเติม
มาตรฐานที่ 2 แนวทางการพัฒนา • จัดหาห้องสารสนเทศเพื่อใช้ศึกษาและค้นคว้า • ปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้มีบรรยากาศน่าเรียน
มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานที่ 3 จุดเด่น • สาขางานมีการมอบหมายให้ครูทำหน้าที่ ครูที่ปรึกษา • นักเรียนนักศึกษาเข้ารับการตรวจสุขภาพและตรวจสารเสพติดทุกคน • มีกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม
มาตรฐานที่ 3 จุดที่ควรพัฒนา • การลดจำนวนนักศึกษาที่ออกกลางคันทุกชั้นปี
มาตรฐานที่ 3 แนวทางการพัฒนา • จัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน • จัดระบบการช่วยเหลือ ดูแล กำกับ ติดตามผู้เรียน
มาตรฐานที่ 4 การบริการวิชาชีพสู่สังคม
มาตรฐานที่ 4 จุดเด่น
มาตรฐานที่ 4 จุดที่ควรพัฒนา • ควรจัดกิจกรรม/โครงการ ให้บริการวิชาชีพแก่ชุมชนเพิ่มมากขึ้น • งบประมาณที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
มาตรฐานที่ 4 แนวทางการพัฒนา • จัดกิจกรรม โครงการให้บริการวิชาชีพเพิ่ม
มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจัย
มาตรฐานที่ 5 จุดเด่น • จัดการเรียนการสอนวิชาโครงการ
มาตรฐานที่ 5 จุดที่ควรพัฒนา • ไม่มีงบประมาณสนับสนุนเพื่อใช้ในการสร้าง พัฒนา และเผยแพร่นวัตกรรม • สิ่งประดิษฐ์ งานวิจัยและโครงงาน
มาตรฐานที่ 5 แนวทางการพัฒนา • จัดหางบประมาณสนับสนุน • ศึกษาแนวทางการเผยแพร่นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์