340 likes | 656 Views
ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และ ร ูปแบบรายงานการเงิน. GFMIS Government Fiscal Management Information System.
E N D
ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)และรูปแบบรายงานการเงิน
GFMIS Government Fiscal Management Information System เป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานการคลังภาครัฐ โดยสามารถให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรในภาครัฐ รวมทั้งการกำหนดนโยบายการคลัง และการปรับบทบาทของภาครัฐให้สอดคล้องกับทิศทางเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างทันท่วงที
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2546 1. เห็นชอบให้มีการออกแบบระบบการคลังในระบบอิเล็กทรอนิกส์ และแผนปฏิบัติการ ปี 2546 - 2548 โดยมีการจัดสร้าง National System 2. แต่งตั้งคณะกรรมการกำกับและบริหารโครงการ นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน รองนายกฯ เป็นรองประธาน รมต./ปลัดกระทรวง ที่เกี่ยวข้อง และที่ปรึกษานายกฯเป็นกรรมการ เลขาธิการนายกฯ เป็นเลขานุการ 3. ตั้งสำนักงานบริหารโครงการ GFMIS เลขาธิการนายกฯ เป็นผู้อำนวยการสำนักงานฯ นายนิพัทธ พุกกะณะสุต เป็นรองผู้อำนวยการสำนักงานฯ
ภาพรวมโครงการ GFMIS บริษัท T.N. ออกแบบ จัดสร้างระบบ ติดตั้งใช้งาน และดำเนินการสนับสนุน ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ลงทุน โดยจัดจ้างบริษัทผู้เชี่ยวชาญเพื่อออกแบบและจัดสร้างระบบ ออกแบบ จัดสร้าง ติดตั้ง จัดจ้าง มอบหมายให้ มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 22 กรกฎาคม 2546 เห็นชอบให้ออกแบบและพัฒนาระบบการเงินการคลังในระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็น National System เพื่อใช้งานในปี 2546-2548 ร่วมออกแบบระบบ ฝึกอบรม ระบบ GFMISเริ่มใช้งาน 1 ตุลาคม 2547 ส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐอื่น (ในฐานะผู้ใช้ระบบ) เข้ารับการฝึกอบรมการใช้ระบบ ใช้งาน กรมบัญชีกลาง (ในฐานะหน่วยงานกลาง) ดำเนินการตามนโยบาย ฝึกอบรม
แนวคิดการทำงานของระบบ GFMIS 1. เป็นระบบใหญ่ที่ประกอบด้วยระบบงานย่อยหลายส่วน เชื่อมต่อกันในฐานข้อมูลเดียวกัน 2. บันทึกรายการแบบ Online สามารถตรวจสอบติดตาม สถานะของข้อมูลได้ตลอดเวลา
เป้าหมายสำคัญโครงการ GFMIS 1. จัดทำระบบงบประมาณและเงินนอกงบประมาณแบบครบวงจร 2. จัดทำระบบจัดซื้อจัดจ้าง 3. จัดทำระบบการรับ – จ่ายเงิน และระบบการบริหารเงินคงคลัง 4. จัดทำระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง 5. จัดทำระบบบริหารข้อมูลบุคคลากร 6. จัดทำระบบฐานข้อมูลหลักเพื่อกำกับติดตามและประเมินผล ครบวงจรทั้งในทางบัญชี และงบประมาณ 7. ติดตั้งระบบและเครือข่ายในรูปแบบศูนย์คอมพิวเตอร์
(กรมบัญชีกลาง) โครงสร้างระบบงาน GFMIS แบบรวมศูนย์ (Centralized) (หน่วยที่ไม่มี Terminal) 1 Up load กองคลัง และ คลังจังหวัด 2 คลังจังหวัด 3 (สำนักงบประมาณ) 1 BIS (ส่วนราชการ) (กรมบัญชีกลาง) ศูนย์คอมพิวเตอร์และศูนย์สำรอง 3 ระบบงาน GFMIS 3 AFMIS e-Payment (ธนาคารกรุงไทย) (สำนักงาน ก.พ.) Payment System 3 DPIS 3 ระบบสนับสนุนการตรวจสอบบัญชี (สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน) 1 เครื่อง Terminal GFMIS Excel Loader Interface ข้อมูล 1 2 3
กระบวนงานในระบบ GFMIS BIS DPIS AFMIS e-Payroll , e-Pension MIS (ระบบสารสนเทศ) MIS - BW SEM Operating System SAP R/3 (GFMIS) (3) (2) FI ระบบการเงินและบัญชี ประกอบด้วย RPระบบรับและนำส่งเงิน APระบบเบิกจ่าย CM ระบบบริหารเงินสด FAระบบสินทรัพย์ถาวร GL ระบบบัญชีแยกประเภท PO ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (1) (4) CO ระบบต้นทุน FM ระบบงบประมาณ (5) HR ระบบทรัพยากรบุคคล e-Procurement e-Auction) (e-catalog,e-shopping list
การใช้งานในระบบ GFMIS มี 3 วิธี 1. เครื่อง Terminal GFMIS 2. ใช้ Excel Form จากระบบ Excel Loader 3. Interface ข้อมูล
การรักษาความปลอดภัยของระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบ • Terminaluser SAP Server • การ logon เข้าระบบผ่าน Terminal โดยใช้ Smartcard ซึ่งบันทึกรหัสลับ • ที่ระบุถึงอำนาจที่ได้รับในการเข้าใช้ระบบของ user ร่วมกับ password • ข้อมูลต่างๆที่ส่งไปมาระหว่าง user กับระบบจะมีการเข้ารหัส • เพื่อป้องกันผู้ไม่มีสิทธิใช้งาน
การรักษาความปลอดภัยของระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบ • Excel Loader Upload หน่วยงาน SAP Server (กรมบัญชีกลาง) • การบันทึกรายการโดยใช้ Pack Excel และ encrypt file โดยผู้มีอำนาจ • เพื่อป้องกันการแก้ไขข้อมูล • การ upload file ที่บันทึกไว้เข้าระบบผ่าน Terminal ที่กรมบัญชีกลาง
ขั้นตอนการทำงานโดยรวมของ Excel Loader 3. การนำส่งแบบฟอร์ม EXCEL LOADER 2. การกรอกข้อมูลแบบฟอร์ม EXCEL 4. การเรียกดูรายงานการนำเข้าข้อมูล 1. การขอรับแบบฟอร์ม EXCEL LOADER
ระบบบัญชี แยกประเภท ระบบบัญชี ต้นทุน ระบบควบคุม งบประมาณ ระบบ MIS ระบบบัญชีแยกประเภทGL : General Ledger ระบบจะบันทึกรายการบัญชี ต้นทุน และตรวจสอบงบประมาณให้ทันทีที่บันทึกรายการ ทำการ Interface สำหรับ กรม ที่มีระบบเอง ระบบ GFMIS บันทึกรายการ อัตโนมัติ ปรับปรุง รายการบัญชี งบการเงินระดับจังหวัด งบการเงินระดับกรม • รวบรวมข้อมูลจัดทำงบการเงินรวมระดับประเทศ
ระบบบัญชีต้นทุน CO : Controlling FI Financial Accounting Cost Center การปันส่วน Cost Center Cost Allocation การบันทึกเกณฑ์การปันส่วน CO Controlling การปิดสิ้นงวด การปิดสิ้นงวด การบันทึกข้อมูลหลัก การรายงาน
ลักษณะการนำเสนอข้อมูลเพื่อผู้บริหารลักษณะการนำเสนอข้อมูลเพื่อผู้บริหาร Web reporting Web reporting Web reporting Management Cockpit Web reporting KPI Structure of detail MIS R/3 Operational System Detail of transaction
องค์ประกอบของรายงานการเงินองค์ประกอบของรายงานการเงิน • งบแสดงฐานะการเงิน • งบรายได้และค่าใช้จ่าย • งบกระแสเงินสด • หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ประโยชน์ของรายงานการเงินประโยชน์ของรายงานการเงิน • แสดงความรับผิดชอบในการบริหารการเงินของหน่วยงาน • ตระหนักถึงสินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดในความรับผิดชอบ • สนับสนุนการดำเนินงานที่มุ่งเน้นผลผลิต • ช่วยในการตัดสินใจใช้ทรัพยากรของผู้บริหาร
งบแสดงฐานะการเงิน หน่วย : บาท
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) หน่วย : บาท
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) หน่วย : บาท
งบรายได้และค่าใช้จ่ายงบรายได้และค่าใช้จ่าย หน่วย : บาท
งบรายได้และค่าใช้จ่าย (ต่อ) หน่วย : บาท
งบกระแสเงินสด หน่วย : บาท
หมายเหตุประกอบงบการเงินหมายเหตุประกอบงบการเงิน • สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ • ผลผลิตของหน่วยงาน • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด • ลูกหนี้ • เงินให้กู้ • รายได้ค้างรับ • สินค้าและวัสดุคงเหลือ • เงินลงทุน
หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน(ต่อ)หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน(ต่อ) • ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) • สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน (สุทธิ) • สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) • เจ้าหนี้ • ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย • รายได้รับล่วงหน้า • รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง • เงินกู้ • ทุน
หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน(ต่อ)หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน(ต่อ) • รายได้จากเงินงบประมาณ • รายได้จากเงินช่วยเหลือ • ค่าใช้จ่ายบุคลากร • ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน • ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน • ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย
หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน(ต่อ)หมายเหตุประกอบรายงานการเงิน(ต่อ) • ค่าใช้จ่ายผลผลิต • รายการพิเศษ • ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น • รายงานการบริหารงบประมาณ
ต้นทุนผลผลิตและต้นทุนกิจกรรมต้นทุนผลผลิตและต้นทุนกิจกรรม ( ล้านบาท ) กิจกรรม ต้นทุนรวม ผลผลิต xx . xx กิจกรรมที่ 1 1 xx . xx กิจกรรมที่ 2 xx . xx 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 xx . xx xx . xx 3 กิจกรรมที่ 5 xx . xx กิจกรรมที่ 6 4 xx . xx กิจกรรมที่ 7