480 likes | 863 Views
GOVERNMENT FISCAL MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM. ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ ( GFMIS ). กลุ่มงานกำกับและพัฒนาระบบงาน สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมบัญชีกลาง. LOGO. กรกฏาคม 2554. เป้าหมายสำคัญของโครงการ GFMIS. 1. 2. 3.
E N D
GOVERNMENT FISCAL MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์(GFMIS) กลุ่มงานกำกับและพัฒนาระบบงาน สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมบัญชีกลาง LOGO กรกฏาคม 2554
เป้าหมายสำคัญของโครงการ GFMIS 1 2 3 หัวข้อนำเสนอ การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS ภาพรวม GFMIS 2
“ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ“ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์” รู้จัก GFMIS? ความหมาย GFMIS เป็น เครื่องมือ ในการเพิ่มประสิทธิภาพ การ บริหารงานการคลัง ภาครัฐ และ สามารถใช้เป็น ข้อมูลในการตัดสินใจ เกี่ยวกับด้านนโยบายการคลัง และใช้ข้อมูลดังกล่าวในการปรับทิศทางเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างทันท่วงที G Government F Fiscal M Management I Information S System 3
เป้าหมายสำคัญโครงการ GFMIS 1. จัดทำระบบการวางแผน อนุมัติ การบริหารเงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ แบบครบวงจร 2. จัดทำระบบจัดซื้อจัดจ้าง 3. จัดทำระบบการรับ - จ่ายเงิน และการบริหารเงินคงคลัง 4. จัดทำระบบบัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง 5. จัดทำระบบบริหารส่วนบุคคล 6. จัดทำระบบฐานข้อมูลหลักเพื่อกำกับติดตามและประเมินผล 7. ติดตั้งระบบและเครือข่ายในรูปแบบศูนย์คอมพิวเตอร์ 4
ระบบ GFMIS FM : ระบบบริหารงบประมาณ PO : ระบบจัดซื้อจัดจ้าง ประกอบด้วยงาน 2 ด้านหลัก FI : ระบบการเงินและบัญชี AP : ระบบการเบิกจ่ายเงิน • ระบบด้านปฏิบัติการ • Software SAP R/3 RP : ระบบรับและนำส่งเงิน GL : ระบบบัญชีแยกประเภท 2. ระบบข้อมูลด้านการบริหาร Business Warehouse FA : ระบบสินทรัพย์ HR: ระบบบริหารบุคคล CO : ระบบต้นทุน 5
e-Procurement BIS DPIS AFMIS e-Payroll , e-Pension ของกรมบัญชีกลาง ของกรมบัญชีกลาง ของ สงป. ของ สกพ. (e-catalog,e-shopping list ของส่วนราชการ e-Auction) กระบวนงานในระบบ GFMIS MIS (ระบบสารสนเทศ) MIS - BW SEM Operating System SAP R/3 (GFMIS) FI ระบบการเงินและบัญชี ประกอบด้วย RP ระบบรับและนำส่งเงิน AP ระบบเบิกจ่าย FA ระบบสินทรัพย์ถาวร GL ระบบบัญชีแยกประเภท CM ระบบบริหารเงินสด PO ระบบจัดซื้อจัดจ้าง FM ระบบงบประมาณ CO ระบบต้นทุน HR ระบบทรัพยากรบุคคล 6
FM : Fund Management System ระบบบริหารงบประมาณ PO: Purchasing Order System ระบบจัดซื้อจัดจ้าง FI : Financila Accounting System ระบบการเงินและบัญชี CO : Controlling System ระบบบัญชีต้นทุน HR : Human Resourece Management Systemระบบทรัพยากรบุคคล 7
RP: Receipt Process System ระบบรับและนำส่งเงิน AP: Account Payable System ระบบการเบิกจ่ายเงิน FA: Fixed Asset Management System ระบบสินทรัพย์ถาวร GL: General Ledger System ระบบบัญชีแยกประเภท CM: Cash Management System ระบบบริหารเงินสด 8
File การปฏิบัติงานตามระบบ GFMIS • มีเครื่อง GFMIS Terminal • - บันทึกรายการผ่านโปรแกรม SAP R/3 • - Interface ข้อมูล • ใช้ GFMIS Smart Card 2. ไม่มีเครื่อง GFMIS Terminal Web Online 9
การบันทึกข้อมูลเข้าระบบ GFMIS • ระบบบัญชีแยกประเภท Excel Loader • ระบบงบประมาณ • ระบบจัดซื้อจัดจ้าง • ระบบรับและนำส่งเงิน • ระบบเบิกจ่าย Web Online ระบบสินทรัพย์ 10
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS กรณีไม่มี GFMIS Terminal 1. ผ่านเครือข่าย Internet (GFMIS Token Key) 2. ผ่านเครือข่าย Intranet 3. ผ่านเครื่อง GFMIS Terminal Token Key 1. บันทึก สีขาว 2. อนุมัติเบิก (P1) สีฟ้า 3. อนุมัติขอจ่าย (P2) สีส้ม 4. อนุมัตินำเงินส่ง (P3) สีเขียว 11
ขั้นตอนสิทธิการปฏิบัติงานขั้นตอนสิทธิการปฏิบัติงาน 12
3 คณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ และ นำเสนอรัฐสภา 2 สำนักงบประมาณ พิจารณาและจัดทำรายละเอียด งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ 4 รัฐสภา ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ BIS BIS BIS พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี 1 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ จัดทำรายละเอียดคำของบประมาณและ ประมาณการรายได้ ส่งให้สำนักงบประมาณ พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี Fund Management System ระบบบริหารงบประมาณ FM 5 13
2 ส่วนราชการ จัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยเบิกจ่าย ในส่วนกลางและภูมิภาค/จังหวัด 1 3 สำนักงบประมาณ พิจารณาอนุมัติจัดสรรเงินงวด ให้ส่วนราชการ ส่วนราชการ ส่วนราชการส่วนกลางและในภูมิภาคบันทึกขอเบิกหรือบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้างในระบบ โดยระบบจะตรวจสอบงบประมาณให้อัตโนมัติ การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ 14
งบประมาณเบิกแทนกัน 3. สร้างรหัสงบประมาณเบิกแทน โดยอ้างอิงเลขที่เอกสารเบิกแทน ในขั้นตอนที่ 1. ZSUB_CGD_CREATEFCTR (รหัสงบประมาณ 16 หลัก เพื่อนำไปใช้เบิกแทน ) ออกงวดตาม พ.ร.บ. งบประมาณประจำปี • สร้างข้อมูลหลักรายการเบิกแทน ZSUB_AG_MASTER • (เลขที่เอกสารเบิกแทน) 5. ตรวจสอบการได้รับงบประมาณเบิกแทนรายงานข้อมูลหลักรายการเบิกแทนZSUB_AG_RPT_0001 6. จัดสรรเงินงบประมาณเบิกแทนไปยังหน่วยเบิกจ่ายในส่วนภูมิภาค ZFMBB_TRN 4. จัดสรรงบประมาณเบิกแทนให้หน่วยงานผู้เบิกแทน โดยอ้างอิงเอกสารเบิกแทน ในขั้นตอนที่ 1 ZSUB_CGD_TRAN (เลขจัดสรรเบิกแทน 8 หลัก) 2. ตรวจสอบการสร้างข้อมูลหลักรายการเบิกแทนที่รายงานข้อมูลหลักรายการเบิกแทน ZSUB_AG_RPT_0001 7. ดำเนินการต่างๆเสมือนเป็น งบประมาณของหน่วยงานตนเอง 15
งบประมาณเบิกแทนกัน 2. สร้างข้อมูลหลักรายการ เบิกแทนประเภท (9200) ZSUB_AG_MASTER (เลขที่เอกสารเบิกแทน) • แจ้งข้อมูลการคืนงบ • เบิกแทนให้เจ้าของงบประมาณ 4. ย้ายงบประมาณเบิกแทน คืนให้หน่วยงานเจ้าของ โดยอ้างอิงเอกสารเบิกแทน ขั้นตอนที่ 2 ZSUB_CGD_TRAN (เลขที่จัดสรรเบิกแทน 8 หลัก ) 3. ตรวจสอบการสร้างข้อมูลหลักรายการเบิกแทนที่รายงานข้อมูลหลักรายการเบิกแทน ZSUB_AG_RPT_0001 5. ตรวจสอบการสร้างข้อมูลหลักรายการเบิกแทนที่รายงานข้อมูลหลักรายการเบิกแทน ZSUB_AG_RPT_0001 16
กระบวนการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีและการขยายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี รอบเดือนกันยายน ส่วนราชการสร้างเอกสารสำรองเงิน ประเภทเอกสาร CF,CX,CK (แหล่งเงิน ปีปัจจุบัน) และ List เอกสารสำรองเงิน (แหล่งเงินต่ำกว่าปีปัจจุบัน) เพื่อขอกันเงินและขอขยาย ฯ ในระบบ ผู้มีอำนาจของส่วนราชการยืนยันเอกสารสำรองเงินที่ขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีและขอขยายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีในระบบ GFMIS ส่งให้กรมบัญชีกลาง 30 กันยายน กรมบัญชีกลาง ดำเนินการบล็อกเอกสารสำรองเงินและ PO ทุกรายการในระบบ GFMIS บก. สรก. สรก. ส่วนราชการเบิกจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันจากเอกสารสำรองเงินที่ได้รับอนุมัติให้กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีและขยายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี กรมบัญชีกลางพิจารณา อนุมัติเอกสารสำรองเงินและ PO ที่อนุมัติให้กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีและขยายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี ส่วนราชการตรวจสอบเอกสารสำรองเงิน และPO ที่ได้รับอนุมัติให้กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีและขยายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีจากรายงานในระบบ 17 สรก. สรก. บก.
กระบวนการขอขยายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี รอบเดือนมีนาคม ส่วนราชการทำการ LIST เอกสารสำรองเงิน และ PO ที่มีแหล่งของเงินต่ำกว่าปีปัจจุบัน และเบิกจ่ายไม่ทัน ภายใน 31 มีนาคม เพื่อขอขยายเวลาเบิกจ่ายเงินกัน ไว้เบิกเหลื่อมปี ผู้มีอำนาจของส่วนราชการอนุมัติ (ยืนยัน) เอกสารสำรองเงิน และ PO ที่ขอขยายเวลาเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีในระบบ GFMIS ส่งกรมบัญชีกลาง 31 มีนาคม กรมบัญชีกลาง ดำเนินการบล็อกเอกสารสำรองเงินและ PO ทุกรายการในระบบ GFMIS บก. สรก. สรก. ส่วนราชการเบิกจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันจากเอกสารสำรองเงินและ POที่ได้รับอนุมัติให้ขยายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี กรมบัญชีกลางพิจารณา อนุมัติเอกสารสำรองเงินและ PO ที่อนุมัติให้ขยายเวลาเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี ส่วนราชการตรวจสอบเอกสารสำรองเงิน และPO ที่ได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีจากรายงานในระบบ 18 สรก. สรก. บก.
ประโยชน์ที่ได้รับ (FM) 1. ลดความซ้ำซ้อนในการบันทึกข้อมูล 2. สามารถเรียกดูรายงานในระบบได้ทันที 3. สามารถติดตามผล/สถานการณ์เบิกจ่าย เงินงบประมาณในระบบได้ 19
ตรวจรับงาน บันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้าง บันทึกสัญญา สร้างข้อมูลหลักผู้ขาย Purchasing Order System ระบบจัดซื้อจัดจ้าง FM ตรวจสอบงบประมาณ PO 20
การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้างผ่าน GFMIS Terminal 2. ผู้ขาย 3. ฝ่ายพัสดุ 1. ฝ่ายพัสดุ เมื่อครบกำหนดส่งมอบ ผู้ขายจัดส่งรายการ สั่งซื้อ/จ้าง ให้ส่วนราชการ • คัดเลือกผู้ขาย ตามระเบียบวิธีการปกติ • ตรวจสอบข้อมูลผู้ขาย ถ้าไม่มีในระบบ ต้องดำเนินการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย ตามกระบวนการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย • บันทึกรายการสั่งซื้อ/จ้าง ผ่าน GFMISTerminal • ตรวจสอบรายการที่บันทึก ถ้าไม่ถูกต้องให้แก้ไข • พิมพ์ใบสั่งซื้อ/จ้าง ส่งให้ผู้ขาย • บันทึกรายการสั่งซื้อ/จ้างลงทะเบียนคุมเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงและค้นหาเอกสาร • สิ้นวันตรวจสอบรายงานสถานะ PO (ZMM_ME2N) กับทะเบียนคุม เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรายการสั่งซื้อ/จ้างที่บันทึกเข้า GFMIS • - คณะกรรมการตรวจรับตามรายการ สั่งซื้อ/จ้าง • บันทึกรับ อ้างเลขที่ PO ของ GFMIS • ผ่าน GFMIS Terminal • - บันทึกวันที่รับพัสดุเพิ่มเติมในทะเบียนคุม เพื่อสะดวกในการติดตามสถานะ • - สิ้นวัน ตรวจสอบรายงานรับพัสดุ (MB51) เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรายการรับพัสดุจากผู้ขาย 4. หน่วยงานตั้งเบิก - รวบรวมและตรวจสอบเอกสารสำหรับการตั้งเบิก ส่งให้หน่วยงานตั้งเบิก จัดทำฎีกา Online ตั้งเบิกอ้างเลขที่ PO เพื่อจ่ายเงินให้กับผู้ขาย พร้อมเลขที่ POที่ได้จากระบบ GFMIS 21
ประโยชน์ที่ได้รับ (PO) 1. บันทึกรายการบัญชีให้อัตโนมัติ 2. ระบบจะตรวจสอบงบประมาณทุกครั้งที่บันทึก PO 3. สามารถเบิกเงินให้เจ้าหนี้ด้วยวิธีจ่ายตรง 4. วางแผนและจัดการข้อมูลเกี่ยวกับพัสดุภาครัฐ 5. มีฐานข้อมูลผู้ขายในระบบ 22
Account Payable System ระบบการเบิกจ่ายเงิน กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลัง อนุมัติเป็นจาก B เป็น ว่าง กรมบัญชีกลางสั่งจ่ายเงิน เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิ AP บัญชีเงินฝากธนาคารของหน่วยงาน ต้องการเบิก เข้าหน่วยงาน ต้องการจ่าย ตรงให้เจ้าหนี้ ไม่ผ่าน PO จ่ายต่อให้ผู้มีสิทธิ ผ่าน PO ระบุเลขที่ใบสั่งซื้อจาก ระบบ GFMIS เสมอ 23
ขั้นตอนบันทึกรายการเบิกจ่ายเงินขั้นตอนบันทึกรายการเบิกจ่ายเงิน 2.กองคลัง/หน่วยเบิกจ่าย Online 3. กรมบัญชีกลาง/สนง.คลังจังหวัด • ตรวจสอบและอนุมัติรายการตั้งเบิกจาก ส่วนราชการ (เฉพาะรายการเบิกเงินกับคลัง) • กรมบัญชีกลางสั่งจ่ายเงินผ่านระบบของธนาคาร • บันทึกรายการตั้งเบิกในระบบ GFMIS 1. อ้างใบสั่งซื้อในระบบ GFMIS • 2. ไม่อ้างใบสั่งซื้อ (เบิกอื่นๆที่ไม่ออกใบสั่งซื้อ) • เช่น เบิกตามใบเสร็จ เบิกชดใช้ใบสำคัญ • โดยระบุผู้รับเงิน : ผู้ขาย/คู่สัญญา • : ส่วนราชการ • ระบบปรับปรุงยอดงบประมาณที่เกี่ยวข้องและ บันทึกบัญชีให้อัตโนมัติ 4. ธนาคารกรุงไทย • โอนเงินไปยังบัญชีผู้รับเงิน - คู่สัญญา/เจ้าหนี้ของส่วนราชการ - ส่วนราชการ/หน่วยเบิกจ่าย • ส่ง Statement การโอนเงินให้กรมบัญชีกลาง 1. หน่วยงานภายในส่วนราชการ 5.กองคลัง/หน่วยเบิกจ่าย • เมื่อได้รับโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร - ส่วนราชการจ่ายเงินต่อให้ผู้รับเงิน - บันทึกรายการจ่ายเงินในระบบ GFMIS • เมื่อรับงานและตรวจรับผ่าน • เมื่อต้องการเบิกค่าใช้จ่าย (ใบเบิก/ใบเสร็จ) • ขออนุมัติการเบิก-จ่าย (ภายในของส่วนราชการ) 24
ประโยชน์ที่ได้รับ (AP) 1. ระบบตรวจสอบงบประมาณให้อัตโนมัติ 2. บันทึกรายการบัญชีให้อัตโนมัติ 3. ลดภาระในการจัดเก็บเอกสาร 4. ลดภาระการจ่ายเงินของส่วนราชการ (กรณีจ่ายตรงผู้ขาย) 25
Fixed Asset Management System ระบบสินทรัพย์ถาวร FA การได้มาของ สินทรัพย์ (2) การกำหนด รหัสสินทรัพย์ (1) การตัดจำหน่าย สินทรัพย์ (3) รายงาน ประมวลผลสิ้นงวด /สิ้นปีบัญชี (4) 26
Fixed Asset Management System ระบบสินทรัพย์ถาวร ไม่มี Terminal ผ่านTerminal บันทึก PO ระบุพักสินทรัพย์ บันทึก PO ระบุ บ/ช พักสินทรัพย์ ว.399 ลว.17พ.ย.51 ตรวจรับ ตั้งเบิก ตั้งเบิก สร้างข้อมูลหลัก ส/ท หน่วยงานมีหน้าที่แจ้งเลขที่เอกสารตั้งเบิกและรายละเอียดสินทรัพย์ (ลักษณะของสินทรัพย์ ชนิด วันที่ได้มาหรือวันที่ตรวจรับ ราคา) เพื่อให้หน่วยงานที่มีเครื่อง GFMIS Terminal สร้างข้อมูลหลัก สินทรัพย์ และล้างบัญชี “พักสินทรัพย์” เป็นสินทรัพย์รายตัว หรือเป็นค่าใช้จ่ายแล้วแต่กรณี ล้างพัก ส/ท ถาวรในระบบ 27 สินทรัพย์ถาวร ค่าใช้จ่าย
ประโยชน์ที่ได้รับ (FA) 1. ระบบจะให้เลขที่สินทรัพย์อัตโนมัติ 2. บันทึกบัญชีและทะเบียนคุมให้อัตโนมัติ 3. คำนวณค่าเสื่อมราคาในระบบ 4. ควบคุมสินทรัพย์ตั้งแต่ได้มาจนถึงตัดจำหน่าย 28
ระบบGFMIS บันทึกข้อมูลเข้าระบบ GFMIS RP: Receipt Process ระบบรับและนำส่งเงิน RP กระบวนการจัดเก็บ กองคลัง 1. จัดเก็บรายได้ 2. ออกใบเสร็จรับเงิน(ด้วยวิธีการเดิม) กระบวนการนำส่ง กองคลัง ธนาคารกรุงไทย กรมบัญชีกลาง/สนง.คลังจังหวัด นำส่งเงิน จัดทำใบนำส่งและระบุรหัสอ้างอิง ในใบนำฝากธนาคาร รับเงินสด/เช็คเข้าบัญชีเงินฝาก รับ Statement เพื่อกระทบยอด การนำส่งรายได้/เงินฝาก บันทึกข้อมูลเข้าระบบ GFMIS ระบบGFMIS 29
ประเภทการรับเงินของระบบ RP รายได้แผ่นดินของตนอง รายได้แผ่นดินจัดเก็บแทนกัน เงินนอกงบประมาณ ฝากคลังของตนเอง เงินนอกงบประมาณฝากคลังแทนกัน 30
ประเภทการนำส่งเงินของระบบ RP รายได้แผ่นดินของตนอง รายได้แผ่นดินจัดเก็บแทนกัน เงินนองบประมาณ ฝากคลังของตนเอง เงินนอกงบประมาณฝากคลังแทนกัน 31
เอกสารได้รับจากธนาคารเอกสารได้รับจากธนาคาร 33
ประโยชน์ที่ได้รับ (RP) 1. บันทึกบัญชีให้อัตโนมัติ 2. ลดขั้นตอนและลดภาระในการจัดทำเอกสาร 3. มีการรายงานผลการนำเข้าข้อมูล 34
CM CM: Cash Management ระบบบริหารเงินสด ระบบจัดซื้อจัดจ้าง ระบบเบิกจ่ายเงิน ระบบการนำส่งรายได้ ระบบ บริหารเงินสด รายงานแผนการใช้จ่ายเงิน 35
ประโยชน์ที่ได้รับ (CM) 1. ระบบจะกระทบยอดข้อมูลการนำส่งเงิน/ ฝากเงินให้อัตโนมัติ 2. ส่งข้อมูลกลับส่วนราชการกรณีไม่สามารถ กระทบยอดได้ 3. ส่วนราชการมีข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหาร การใช้จ่ายเงิน 36
งบการเงินระดับจังหวัดงบการเงินระดับจังหวัด งบการเงินระดับกรม งบการเงินรวมระดับประเทศ GL : General Ledger ระบบบัญชีแยกประเภท GL บันทึกรายการจากระบบ PO, AP ,RP, FA โดยอัตโนมัติ ระบบ บัญชีแยกประเภท co ปรับปรุงรายการ ทางบัญชี ทำการInterface สำหรับหน่วยงานที่มีระบบเอง 37
FM งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้ค่าใช้จ่าย งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้ค่าใช้จ่าย งบทดลอง งบทดลอง งบทดลอง General Ledger System ระบบบัญชีแยกประเภท PO FA AP GL RP ประมวลผลสิ้นวัน ประมวลผลสิ้นเดือน 38 ประมวลผลสิ้นปี
ประโยชน์ที่ได้รับ (GL) 1. เชื่อมโยงข้อมูลจากระบบที่เกี่ยวข้อง 2. ประมวลผลทางบัญชีโดยระบบ 3. สามารถเรียกดูรายงานแต่ละระบบได้ทันที และเป็นปัจจุบัน 39
FI Financial Accounting Cost Center การปันส่วน Cost Center Cost Allocation การบันทึกเกณฑ์การปันส่วน CO Controlling การปิดสิ้นงวด การปิดสิ้นงวด Controlling System ระบบบัญชีต้นทุน การบันทึกข้อมูลหลัก co การรายงาน 40
ประโยชน์ที่ได้รับ (CO) 1. เชื่อมโยงข้อมูลจากระบบที่เกี่ยวข้อง 2. หน่วยงานมีข้อมูลในการวิเคราะห์ด้านการเงิน การคลังที่รวดเร็ว/ทันเหตุการณ์ 3. มีการบันทึกค่าใช้จ่ายต่างๆเข้าศูนย์ต้นทุนทันที เพื่อประโยชน์ในการปันส่วนต้นทุนเข้าผลผลิต/ กิจกรรม 41
HR: Human Resource ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบ HR ฐานข้อมูลบนระบบถือจ่าย หน่วยงานระดับกรม บันทึกการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงข้อมูลค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรได้ 42
ประโยชน์ที่ได้รับ (HR) 1. มีฐานข้อมูลกลางของข้าราชการที่เป็นปัจจุบัน 2. หน่วยงาน/หน่วยงานกลางสามารถตรวจสอบ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรได้ 43
www.cgd.go.th Thank You ! www.gfmis.go.th 44