1 / 18

วลัยทิพย์ สาชลวิจารณ์

วลัยทิพย์ สาชลวิจารณ์. การจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย. research proposal. ข้อเสนอโครงการวิจัย ( Research Proposal).

dani
Download Presentation

วลัยทิพย์ สาชลวิจารณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วลัยทิพย์ สาชลวิจารณ์ การจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย research proposal

  2. ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal) เป็นเอกสารวิชาการ จัดทำเพื่อการเสนอแผนงาน (Plan)ในการทำวิจัยอย่างละเอียด ประกอบด้วย3บทแรกของการวิจัย ซึ่งกล่าวถึงโครงสร้าง (Structure)กลยุทธ์(Strategies)และคุณค่า(Value)ของงานวิจัย นักวิจัยต้องมีหัวข้อการวิจัยที่ผ่านการยอมรับจากคณะกรรมการ หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว และ ต้องจัดทำข้อแสนอล่วงหน้าก่อนลงมือทำวิจัย

  3. ข้อเสนอโครงการวิจัย หรือเค้าโครงการวิจัย เป็นร่าง(Draft) ซึ่งประมวลความคิดในการทำการวิจัย ซึ่ง นำมาเรียบเรียง เป็นสารสนเทศที่มีความกระทัดรัด ชัดเจนสามารถสื่อสารได้ว่า1. นักวิจัยต้องการทำวิจัยเรื่องอะไร2. งานวิจัยที่จะทำ มีวัตถุประสงค์อย่างไร3. มีความเป็นมาและความสำคัญเพียงใด4. มีการวางแผนการการดำเนินงานอย่างไร5. ต้องการงบประมาณในการดำเนินงานเท่าใด

  4. ส่วนเนื้อหาของโครงการประกอบด้วยส่วนเนื้อหาของโครงการประกอบด้วย 1. ส่วนนำ ความเป็นมาและความสำคัญของป้ญหา (ที่มา ภูมิหลัง ความสำตัญ หลักการและเหตุผล ฯ)2. การกำหนดตัวแปรในการวิจัย และการพัฒนา โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร3. ขอบข่ายประเด็นที่วิจัยเป็นอย่างไร กรอบความ คิดในการวิจัย มีแนวคิด ทฤษฎี หรืองานวิจัยใด มาสนับสนุน4. สมมติฐานหรือคำตอบปัญหาการวิจัยที่คาดการณ์ไว้ ล่วงหน้าเป็นอย่างไร

  5. 4. นักวิจัยใช้การวิจัยรูปแบบใด เพื่อตอบปัญหาวิจัย5. ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยมีรายละเอียด อย่างไร6. งานวิจัยที่จะทำมีคุณค่าอย่างไร7. นักวิจัยมีศักยภาพเพียงพอที่จะทำวิจัย เรื่องนั้นๆหรือได้ไม่

  6. วัตถุประสงค์ของการเขียนโครงการวิจัยวัตถุประสงค์ของการเขียนโครงการวิจัย 1. เป็นการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนในการทำ วิจัย ไม่ทำเกินกว่าขอบเขตที่กำหนดไว้2. เป็นเครื่องมือสำหรับนักวิจัย ที่ปรึกษา และผู้ให้ทุน สนับสนุน ติดตามความก้าวหน้าของโครงการ3. เพื่อประเมินผลการวิจัยทุกขั้นตอน4. เพื่อแสดงว่านักวิจัยมีศักยภาพ งานวิจัยนั้นมีคุณค่า มีความเป็นไปได้ มีส่วนในการสร้างองค์ความรู้ใหม่

  7. การเขียนโครงการวิจัยที่ดี นักวิจัยต้องมีความรู้ ด้านระเบียบวิธีวิจัย ความรู้ในเรื่องที่จะทำวิจัยมีข้อมูลที่ต้องนำมาเรียบเรียง / ประมวล ตามขั้นตอนต่างๆ ของ Format การเขียนโครงการวิจัยนักวิจัยต้องใช้ภาษาการวิจัยในการเขียน ข้อความให้ถูกต้องตามแบบแผน

  8. ลักษณะของโครงการวิจัยที่ดี (เขียนโครงการวิจัยอย่างไรให้ได้รับทุนวิจัย) 1. ความถูกต้อง(Correctness)ถูกต้อง แม่นยำ มีหลักฐานอ้างอิงที่สามารถตรวจสอบได้2. ความมีเหตุผลมั่นคง(Cogency)สาระสำคัญ ของโครงการวิจัยต้องมีเหตุผลแน่นหนา ชัดเจน ตรวจสอบได้3. ความกระจ่างแจ้ง(Clarity) ข้อความต้อง ชัดเจน ผู้อ่าน ผู้ประเมินคุณภาพ สามารถเข้าใจ ได้โดยไม่ต้องตีความหรือคาดคะเนความหมาย ของโครงการวิจัยนั้นๆ

  9. 4. ความสมบูรณ์(Completeness) ต้องมีสาระสำคัญครบถ้วนตามกำหนดของแต่ละสำนักตามขั้นตอนของกระบวนการวิจัย แต่ละหัวข้อมีเนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ (Format VS. Style)5. ความกระทัดรัดชัดเจน(Concise) สั้น เข้าใจได้รวดเร็วประหยัดเวลา

  10. 6. ความสม่ำเสมอ (Consistency) หรือ ความคงเส้นคงวา นักวิจัยต้องใช้คำเดียวกัน ในการใช้คำหรือข้อความเดียวกันทั้งฉบับ7. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงสอดคล้อง( Correspondence)ซึ่งแสดงว่าทุกส่วน ได้รับการจัดระเบียบมาเป็นอย่างดี ทุกหัวข้อ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันโดยตลอด

  11. ขั้นตอนในการเขียน1. การวางโครงร่าง(Outline)โดยยึดรูปแบบ ของแต่ละสำนักเป็นแนวทาง2. การเตรียมเนื้อหาสาระ(Text)รวมทั้งการ อ้างอิง3. การเขียนร่าง(Draft)4. การบรรณาธิกรณ์และปรับปรุง(Edit)

  12. การเขียนประเภท หรือรูปแบบของการวิจัย1. การวิจัยเชิงสำรวจ2. การวิจัยเชิงทดลอง3. การวิจัยพื้นฐาน4. การวิจัยเชิงปฎิบัติการ5. การวิจัยเพื่อการพัฒนา6. การวิจัยเชิงปริมาณ7. การวิจัยเชิงคุณภาพ8. การวิจัยสถาบัน9. การวิจัยในชั้นเรียน ฯลฯ

  13. องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย1. ชื่อเรื่อง(ชื่อโครงการวิจัย) ภาษาไทย…...……ชื่อภาษาอังกฤษ……..….…..………….....…2. รูปแบบ (ประเภท) ของการวิจัย….……………..3. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา….................4. ปัญหาวิจัยหรือโจทย์วิจัย…………………...…5. วัตถุประสงค์การวิจัย…………………......…..

  14. สมมติฐานการวิจัย……………….......7. ขอบเขตการวิจัย…………………..….8. นิยามศัพท์ / นิยามตัวแปร……………....8.1 นิยามเชิงทฤษฎี..…………..8.2 นิยามเชิงปฏิบัติการ…..…......9 กรอบแนวคิดในการวิจัย10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ……………....

  15. บทที่ 3. วิธีดำเนินการวิจัย3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.3 การเก็บรวบรวมช้อมูล 3.4 การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิจัย

  16. 12. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย( การสร้างเครื่องมือและการทดสอบ คุณภาพเครื่องมือวิจัย)12.1 เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างและกำหนดขึ้นเอง12.2 เครื่องมือที่ดัดแปลงมาจากของผู้อื่น 12.3 เครื่องมือหรือวัสดุ-อุปกรณ์ที่มีอยู่แล้ว

  17. การเขียนกรอบแนวคิดการวิจัยเป็นการแสดงความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างตัวแปรหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ และตัวแปรตามการเขียน เริ่มจากซ้ายไปขวา หรือจากบนลงล่าง ตัวแปรแต่ละประเภทจะอยู่ในแต่ละกรอบ ที่แยกจากกัน

  18. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป (ไม่ต้องระบุชื่อโปรแกรม เพราะมีปัญหาเรื่อง ลิขสิทธิ์)โดยต้องระบุว่าข้อมูลแต่ละส่วน หรือแต่ละประเภทใช้ค่าสถิติอะไรบ้างในการวิเคราะห์

More Related