1 / 24

การใช้กระบวนการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ( Knowledge Management : KM)

การใช้กระบวนการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ( Knowledge Management : KM). สำนักงาน ก.พ.ร. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546. หมวด 3 มาตรา 11

darena
Download Presentation

การใช้กระบวนการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ( Knowledge Management : KM)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้กระบวนการจัดการความรู้การใช้กระบวนการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Management : KM) สำนักงาน ก.พ.ร.

  2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 11 “ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอโดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถ ประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัด ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน...”

  3. คู่มือของสำนักงาน กพร. หมวดที่ 3: แนวทางการพัฒนาส่วนราชการให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ • สร้างระบบให้สามารถรับรู้ข่าวสารได้อย่างกว้างขวาง • ประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการ • ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ที่ • เปลี่ยนแปลงไป • ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และ • ปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการ เพื่อให้เป็น ผู้ที่มีความรู้ใน • วิชาการสมัยใหม่ และปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประสิทธิภาพและมีคุณธรรม • สร้างความมีส่วนร่วมให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อ • พัฒนาในงานให้เกิดประสิทธิภาพ

  4. ความรู้ มี 2 ประเภท ความรู้ที่ชัดแจ้ง(Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอด ออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสาร และ รายงานต่างๆ ตลอดจนคนสามารถเข้าถึงได้ง่าย) 1 2 3 อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย อธิบายไม่ได้ ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ในความรู้ที่อยู่ในตัวคนแต่ละคน เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นเอกสาร ลายลักษณ์อักษรได้ยาก สามารถแบ่งปันกันได้ เป็นความรู้ทีทำให้เกิดการได้เปรียบในการแข่งขัน Tomohiro Takanashi

  5. รูปแบบของความรู้ ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เอกสาร (Document) - กฎ ระเบียบ (Rule), วิธีปฏิบัติงาน (Practice) ระบบ (System) สื่อต่างๆ – วีซีดี ดีวีดี เทป Internet ทักษะ (Skill) ประสบการณ์ (Experience) ความคิด (Mind of individual) พรสวรรค์ (Talent )

  6. วงจรความรู้ (Knowledge Spiral: SECI Model) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) Socialization Externalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) Combination Internalization ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ( อ้างอิงจาก : Nonaka & Takeuchi )

  7. Internalization การแบ่งปันและสร้างความรู้ จาก Explicit Knowledge ไปสู่Tacit Knowledge โดยมักจะเกิดจากการนำความรู้ที่เรียนรู้มาไปปฏิบัติจริง

  8. องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้องค์ประกอบสำคัญของวงจรความรู้ • คนถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด • - เป็นแหล่งความรู้ • - เป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บแลกเปลี่ยน นำความรู้ไปใช้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วขึ้น 3. กระบวนการความรู้เป็นการบริหารจัดการเพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม

  9. การจัดการ การจัดการความรู้ในองค์กร 7. การเรียนรู้ (Learning) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 4. การประมวลและ กลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition)

  10. เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) ความรู้อยู่ที่ใครอยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) จะแบ่งประเภทหัวข้ออย่างไร 3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์การ หรือไม่ทำให้องค์การดีขึ้นหรือไม่ 7.การเรียนรู้ (Learning)

  11. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร

  12. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) • 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ • (Knowledge Organization) • แบ่งชนิดและประเภทของความรู้ เพื่อจัดทำระบบให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร • 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ • (Knowledge Codification and Refinement) • จัดทำรูปแบบและ “ภาษา”ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองค์กร • เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการ จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร

  13. กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ • 5. การเข้าถึงความรู้(Knowledge Access) • ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ต้องการ

  14. กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) • 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ • (Knowledge Sharing) • การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) • ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) • การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ • 7. การเรียนรู้ • (Learning) • นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ • แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร

  15. แบบฟอร์ม การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ/จังหวัด ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด : ………………………………………………………………… หน้าที่ : ….. / ….. ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ (Objective) ตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรอง เป้าหมายของตัวชี้วัด องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติ ราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ คือ แผนการจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ความรู้แผนที่ 1 องค์ความรู้ที่จำเป็น : เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ : ตัวชี้วัดตามคำรับรองและเป้าหมายที่เลือกใช้วัดการทำ KM : แผนการจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ความรู้แผนที่ 2 องค์ความรู้ที่จำเป็น : เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ : ตัวชี้วัดตามคำรับรองและเป้าหมายที่เลือกใช้วัดการทำ KM : • ผู้ทบทวน : ………………………………..……… • ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) • ผู้อนุมัติ : …………………………………..……… • ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO)

  16. แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) หน้าที่ …./…..

  17. กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) Robert Osterhoff

  18. เช่น • การจัดเก็บความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในรูปของเอกสาร • สมุดหน้าเหลือง (Yellow Pages) • ฐานความรู้ (Knowledge Bases) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เช่น • การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story Telling) • การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน (Cross-functional team) • กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม (Innovation & Quality Circles : IQCs) • ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP) • ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) • การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) และการยืมตัวบุคลากรมาช่วยงาน • เวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Forum) ตัวอย่างเครื่องมือและกระบวนการจัดการความรู้

  19. การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การฝึกอบรม - การเรียนรู้ (Training & Learning) การวัดผล (Measurements) วิสัยทัศน์/ พันธกิจ ขอบเขต KM เป้าหมาย (Desired State) ประเด็นยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์/ กระบวนงาน การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้-กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง

  20. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1.ผู้นำ - CEO เอื้อ สนับสนุนทรัพยากร - CKO เอื้อ สนับสนุนวิชาการ ประสาน กระตุ้น เสริมสร้างแรงจูงใจ ติดตามผล โดยเน้นที่กระบวนการมากกว่าผลลัพธ์ - KM Team จังหวัด อำนวย ประสานความร่วมมือ ติดตามประเมินผลเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม - KM Team ยุทธศาสตร์ อำนวย ประสานความร่วมมือส่วนราชการ - หัวหน้าส่วนราชการให้ความสำคัญ เห็นคุณค่า

  21. Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision (KV) Knowledge Assets (KA) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 2.กระบวนการจัดการความรู้ - KVชัดเจน แสดงให้เห็นความสำคัญ จำเป็น เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับเป้าหมายขององค์กร - KSชัดเจน เนียนไปกับเนื้องาน - KAมีการจัดการทั้ง TK และ EK

  22. 3.โครงสร้างการทำงานที่ชัดเจน3.โครงสร้างการทำงานที่ชัดเจน CEO CKO

  23. 4.บุคคลเปิดใจใฝ่เรียนรู้4.บุคคลเปิดใจใฝ่เรียนรู้ - มีการเรียนรู้ของตัวบุคคล - การจัดกิจกรรมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกินกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด 5.เครื่องมือที่ใช้ดำเนินงาน ออกแบบให้ง่ายต่อการทำ - กำหนดเป็นลักษณะใบงานที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน 6.ความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้อง - ตามบทบาทและภารกิจที่มีความเกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพจังหวัด - การให้ความสำคัญ จำเป็นของผู้บริหารและบุคลากร

More Related