760 likes | 1.01k Views
จับประเด็นอย่างไรให้ได้สาระ. โดย ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร. มหาวิทยาลัย. ความรู้ลึก (เชียวชาญเฉพาะด้าน) ความรู้หลากหลาย (สรรพศาสตร์) ชุมชนนักวิชาการ. การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย. การค้นหา “ความรู้” - ในศาสตร์ที่ตนสนใจศึกษา - ทุกแง่มุมของศาสตร์
E N D
จับประเด็นอย่างไรให้ได้สาระจับประเด็นอย่างไรให้ได้สาระ โดย ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร
มหาวิทยาลัย • ความรู้ลึก (เชียวชาญเฉพาะด้าน) • ความรู้หลากหลาย (สรรพศาสตร์) • ชุมชนนักวิชาการ
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย • การค้นหา “ความรู้”- ในศาสตร์ที่ตนสนใจศึกษา- ทุกแง่มุมของศาสตร์ • จาก- ผู้รู้ / ปราชญ์ ที่ได้สร้างองค์ความรู้- การถ่ายทอดของอาจารย์- แหล่งความรู้- แหล่งเรียนรู้- การฝึกทดลอง / ปฏิบัติ
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย การได้มาซึ่งความรู้ ความรู้มิใช่ได้มาจากการท่องจำ การจด lecture ให้ทัน แต่ได้มาจากการรู้จัก ค้นคว้า ตั้งคำถาม การทำความเข้าใจ การรู้จักวิเคราะห์ การจับประเด็นสาระ
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย สร้างความเชี่ยวชาญในสาขาที่ตนศึกษา สะสมความรู้และประสบการณ์เพื่อเป็น เครื่องมือในการประกอบอาชีพ (สร้างมูลค่าเพิ่มในตน) พัฒนาลักษณะนิสัยเพื่อพร้อมต่อการ ดำเนินชีวิตในอนาคต (สร้างภูมิคุ้มกันในตน)
ความรู้ที่ต้องแสวงหาในมหาวิทยาลัยความรู้ที่ต้องแสวงหาในมหาวิทยาลัย • ความรู้วิชาการ (หลักคิด / ประยุกต์) • ความรู้คิดอ่าน (คิดเป็น วิเคราะห์เป็น) • ความรู้ปฏิบัติ • ความรู้ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนมนุษย์ (เก่งคน) • ความรู้ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ต่อสังคม
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย NO การเรียนรู้เพื่อให้ได้ปริญญา NO การเรียนรู้จากการเข้าชั้น เรียนเพียงอย่างเดียวNO การเรียนรู้โดยใช้วิธีท่องจำ
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย การเรียนรู้จากหลักสูตรและการเรียน การสอนที่มหาวิทยาลัยกำหนด การเรียนรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม เสริมหลักสูตร การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั่วโลก
ชีวิตการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยชีวิตการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย • บริหารเวลาเพื่อการแสวงหาความรู้ • สะสมความรู้และประสบการณ์ :พัฒนาตนให้เป็นคนมีกำลัง(กำลังความรู้ กำลังความคิด กำลังภูมิคุ้มกันชีวิต เครื่องมือเลี้ยงชีพสำหรับตน)
แหล่งความรู้ • เอกสาร / ตำรา วิชาการ • ผลงานวิจัย / วิทยานิพนธ์ • ความรู้จากแหล่งความรู้อื่น ๆ • อาจารย์ • สื่อหนังสือพิมพ์ • สื่อโทรทัศน์ • สื่อสิ่งพิมพ์ • ผู้รู้ / กูรู • ฯลฯ ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆเหล่านี้จะสกัดให้เป็นความรู้ของเราได้อย่างไร
ทักษะการเรียนรู้ เครื่องมือสำคัญเพื่อการได้มาซึ่งความรู้
ทักษะการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาทักษะการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษา ความรู้ ทักษะอ่านเร็ว ทักษะการคิดเพื่อการเรียนรู้ (ประยุกต์ วิเคราะห์ วิจารณญาณ เชิงเหตุผล) ทักษะการจับประเด็น ทักษะการจัดการความรู้ ทักษะการสร้างความรู้ สมาธิเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต • ภาวะความรู้ล้นทะลัก • ความรู้ คือ พลัง • แหล่งความรู้มีอยู่มากมาย • ต้องใช้ความรู้เป็นฐานในการคิด พูด ทำ ตัดสินใจ การเข้าถึงแหล่งความรู้ และการเรียนรู้ คือ หัวใจของคนรุ่นใหม่
ทักษะการเรียนรู้ • การสร้างความชำนาญ* การเข้าถึงแหล่งความรู้* เข้าใจแจ่มชัดในสิ่งที่เป็นความรู้* มองเห็นความเชื่อมโยงระหว่างศาสตร์ สาขาต่าง ๆ* มองเห็นลู่ทางการนำความรู้ไปใช้ให้ เหมาะสม
ทักษะการเรียนรู้ เรื่องที่คิดว่าหมู แต่ไม่หมู
ทักษะการเรียนรู้ • เปรียบเสมือนเสาหลักของการเรียน • หลายคนเรียนไม่ดี เพราะขาดทักษะ การเรียนรู้
ปัญหาการเรียนรู้ของนิสิตปัญหาการเรียนรู้ของนิสิต • ขาดความสามารถ ในการจับประเด็น • ขาดสมาธิในตนเอง • แรงจูงใจไม่มากพอ • จดlectureไม่ทัน • ฟังอาจารย์ไม่รู้เรื่อง • อ่านหนังสือไม่เข้าใจ • อ่านหนังสือแล้วจับใจความไม่ได้ • อ่านหนังสือแล้วพลาดประเด็นสำคัญ
สถานการณ์ในอดีต • ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมีน้อย • ไอ ที มีบทบาทไม่มาก • แหล่งความรู้ อยู่ที่ ห้องสมุด และอาจารย์ผู้สอน การเรียนแบบท่องจำ เป็นสิ่งจำเป็น
สถานการณ์เปลี่ยนไปคนจำเป็นต้องใช้ความรู้มากขึ้นทักษะการเรียนรู้ใหม่ ๆ ต้องนำมาใช้มากขึ้น • ความสามารถเข้าถึงความรู้ และแหล่งความรู้ • การสะสมความรู้ไว้ใช้
สำคัญที่สุด ความสามารถในการจับประเด็น
จับประเด็น • วิเคราะห์ • วิจารณญาน • ถกเถียง โต้แย้ง ข้อมูล การเรียนรู้
การเรียนรู้ • สิ่งใหม่ที่ได้มา (ความรู้ มุมมอง แง่มุม ความคิด วิธีคิด) • ต่อยอดความรู้เดิม • ปรับกระบวนทัศน์ใหม่ (แนวคิดเดิมเปลี่ยนไป) • องค์ความรู้ที่เป็นของตนเอง
การได้มาซึ่งความรู้ • การอ่าน • การฟัง • การซักถาม / การตั้งคำถาม • การสังเกต • การจดบันทึก
ทักษะการจับประเด็น 1 ใน หัวใจของการเรียนรู้ ที่นิสิตหลายคนไม่ถนัด
ทักษะการจับประเด็น • ใช้มากในชีวิตประจำวัน- เพราะเราต้องสื่อสารกับผู้อื่น- เพราะเราต้องรับสารที่ผู้อื่นสื่อมา
ประเด็น • สาระสำคัญ • ใจความสำคัญ • แก่นของเรื่อง
การจับประเด็น • ใช้มากในการอ่าน / ฟัง • ใช้มากในการวิเคราะห์ข้อสอบ
การจับประเด็น • การหาสาระสำคัญของเรื่อง • การจับใจความสำคัญของเรื่อง • การสรุปใจความสำคัญของเรื่อง • การจับหลักคิด/แนวคิดของเรื่อง • จากนั้น หยิบเอาความคิดหลัก / ประเด็น สำคัญมากล่าวย้ำ ให้เด่นชัด • โดยใช้ประโยคสั้น ๆ แล้วเรียบเรียงให้เป็นระเบียบ
ใจความสำคัญ • ส่วนที่แสดงถึง* ความสัมพันธ์* ความเกี่ยวข้อง* ความเชื่อมโยง* คำตอบ หัวเรื่อง(Topic)
ทักษะการวางประเด็น ใช้มากในการนำเสนอ (Presentation) ด้วยการพูด การเขียนรายงาน และการตอบข้อสอบอัตนัย
องค์ประกอบของเนื้อเรื่อง / บทความ • ส่วนกล่าวนำ / เกริ่นนำ • ส่วนใจความสำคัญ / แนวคิดหลัก • ส่วนขยายความ / รายละเอียดสนับสนุน • ตัวอย่าง • บทสรุป
ใจความสำคัญ • ข้อคิดสำคัญของเรื่อง • แก่นของเรื่อง • ความคิดหลักของเรื่อง • เป็นข้อความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้านั้น หรือเรื่องนั้นทั้งหมด
ใจความสำคัญ • ตอบคำถามว่า ผู้เขียนต้องการบอกเล่าอะไรในส่วนที่เกี่ยวกับหัวข้อ (topic)
การจับประเด็น : ประโยชน์ • สร้างความสามารถในการอ่านเร็ว ๆและสามารถจับใจความได้ • ช่วยประหยัดเวลาในการอ่าน • ช่วยทำให้อ่านหนังสือได้หลายเล่ม โดยไม่ต้องทวนซ้ำ
การจับประเด็น : ประโยชน์ • สร้างความเข้าใจเรื่องที่ศึกษา • ช่วยในการจดจำ • ช่วยทำให้สามารถติดตามและเชื่อมโยงเรื่อง
ทักษะการจับประเด็น การสร้างความชำนาญ ในการหาใจความสำคัญของเรื่อง
ลักษณะประเด็น / ใจความสำคัญ • ประโยคสำคัญ (Key Sentence) • ประโยคใจความสำคัญที่ผู้เขียนมุ่งเสนอต่อผู้อ่าน เพื่อแสดงว่าผู้เขียนมีความคิดอย่างไร • ความคิดหลัก (Main Idea)
ลักษณะประเด็น /ใจความสำคัญ • คำตัวแทน ประโยคตัวแทน ที่สามารถแทนคำอธิบาย จากรายละเอียดที่ถูกนำเสนอ • ทำให้เราเข้าใจได้ในใจความสำคัญ
หลักการจับประเด็น • รู้หัวเรื่องที่กำลังศึกษา • ตั้งคำถามล่วงหน้า เพื่อวางแนวคำตอบที่ควรได้ • อ่าน / ฟัง อย่างมีสมาธิ • แยกแยะสาระจากการอ่าน / ฟัง • สรุป (หาเครื่องมือเพื่อช่วยสรุป ขณะอ่าน / ฟัง)
แนวทางการจับประเด็น • สำรวจเตรียมการก่อนจับประเด็น • ตัดสินใจว่าจะใช้เครื่องมืออะไรในการจับประเด็น • ดำเนินการจับประเด็น
จุดที่มักพบใจความสำคัญจุดที่มักพบใจความสำคัญ • ประโยคที่อยู่ตอนต้นย่อหน้า • ประโยคตอนท้ายย่อหน้า
เทคนิคการจับประเด็น • หา“คำสำคัญ” (Key Word) • สำรวจด้วยการอ่านคร่าว ๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมของหนังสือ / บทความ / เรื่องที่อ่าน
เทคนิคการจับประเด็น • หา“คำสำคัญ”(Key Word) • สำรวจด้วยการอ่านคร่าว ๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมของหนังสือ / บทความ /เรื่องที่อ่าน
ลักษณะคำสำคัญ (key Word) • คำหรือประโยคที่ให้คำตอบว่า- when- where- why- How- who- what
หัวใจของการจับประเด็นหัวใจของการจับประเด็น • การฝึกหัดตั้งคำถามกับตนเองทุกครั้งที่อ่านหนังสือ
เทคนิคการจับประเด็น • ตั้งคำถามล่วงหน้า(What Where Why How) • สร้างทิศทางในการหาคำตอบ • คำจำกัดความ • คำที่ถูกเขียนด้วยตัวหนา • สังเกตประโยคแรกของข้อความ • ใช้วิธีจำแนกองค์ประกอบของประโยค
เทคนิค การตั้งคำถามล่วงหน้า ชื่อเรื่องบทความ “เทคนิคการบริหารเวลา”
เทคนิคการตั้งคำถามล่วงหน้าเทคนิคการตั้งคำถามล่วงหน้า • การตั้งประเด็นคำถามหรือการหาคำตอบ- ความหมาย- ทำไมต้องบริหารเวลา (ความสำคัญ)- ทำไมต้องมีเทคนิค- เทคนิคที่ต้องใช้มีอะไรบ้าง
แบบฝึกการตั้งคำถามล่วงหน้าแบบฝึกการตั้งคำถามล่วงหน้า • สูตรสำเร็จเพิ่มความฉลาด • การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การใช้ชีวิตของนักศึกษาในสถาบัน • บนเส้นทางสู่ผู้นำนักศึกษา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต • ขันติธรรมในสังคมประชาธิปไตย
เทคนิคการจำแนกองค์ประกอบของประโยคเทคนิคการจำแนกองค์ประกอบของประโยค • ใช้มากในการทำความเข้าใจกับ “คำจำกัดความ” • เพื่อดูว่าองค์ประกอบของ “คำจำกัดความ”ใด ๆ ประกอบด้วยอะไรบ้าง