1 / 35

การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส.

การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส. ศราวุธ ป้อมสินทรัพย์ หัวหน้า สผ. http://www.sut.ac.th/dpn. คำสำคัญ. ให้โอกาส ให้อิสระในความคิด และให้การสนับสนุน จนถึงขั้นการมีจิตนาการ กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง. ต้องรู้จักความรู้ก่อน จึงจะจัดการความรู้ได้. ค วามรู้ ฝังลึก

durin
Download Presentation

การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ มทส. ศราวุธ ป้อมสินทรัพย์ หัวหน้า สผ. http://www.sut.ac.th/dpn

  2. คำสำคัญ • ให้โอกาส ให้อิสระในความคิด และให้การสนับสนุน จนถึงขั้นการมีจิตนาการ • กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง

  3. ต้องรู้จักความรู้ก่อนต้องรู้จักความรู้ก่อน จึงจะจัดการความรู้ได้

  4. ความรู้ฝังลึก Tacit Knowledge มีอยู่ในสมองคน ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้ ทั้งหมด ความรู้ชัดแจ้ง Explicit Knowledge มีอยู่ในตำรา ในเอกสารวารสาร คู่มือ คำอธิบาย วีซีดี คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูลฯลฯ สรุปความรู้มี ๒ ประเภท

  5. หน้าที่ของนักจัดการความรู้หน้าที่ของนักจัดการความรู้ นำ Tacit K. และ Explicit K. มาเข้าสู่กระบวนการจัดการ

  6. ธรรมชาติของกระบวนการเรียนรู้ในชีวิตประจำวันธรรมชาติของกระบวนการเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน

  7. เมื่อรู้จักธรรมชาติการเรียนรู้แล้วจะจัดการอย่างไร ?

  8. ย้อนกลับไปที่คำสำคัญ • ให้โอกาส ให้อิสระในความคิด และให้การสนับสนุน จนถึงขั้นการมีจิตนาการ <=KM Process • กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง <=Change Management Process

  9. KM Process

  10. Change Management Process

  11. กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process & Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management)

  12. สิ่งที่ต้องทำใน แผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้

  13. เป้าหมาย 4 ประการของ KM • ให้คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิดทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ • ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานในรูปแบบใหม่ ๆ • ทดลอง & เรียนรู้ • นำเข้า K-how จากภายนอก อย่างเหมาะสม

  14. กรอบเรื่องที่จะนำมาจัดการความรู้กรอบเรื่องที่จะนำมาจัดการความรู้ ความรู้ การจัดการความรู้ งาน คน

  15. KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” ??? อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology

  16. เริ่มต้นกรอบแบบฟอร์มแผนฯเริ่มต้นกรอบแบบฟอร์มแผนฯ

  17. ข้อ 1. รายชื่อคณะทำงาน KM ของหน่วยงาน • นายศราวุธ ป้อมสินทรัพย์ หัวหน้าคณะทำงาน • นางสาวอรุโณทัย ผลาพฤกษ์ คณะทำงาน • นายสมจิต มณีวงศ์ คณะทำงาน • นางสาวพัชรี ดงกระโทก คณะทำงาน • นางสาวจันทนี วีระชัย คณะทำงานและเลขานุการ

  18. ข้อ 2 ขอบเขต KM (KMFocus Area) • การบริการห้องสมุดและสื่อการศึกษา • นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา • การดำเนินงานสหกิจศึกษา • การเงินและบัญชี • การวางแผนและงบประมาณ • การบริหารงานบุคคล • การให้บริการสารบรรณและนิติการ • การตรวจสอบภายใน

  19. KM Focus Area => เป้าหมาย KM KM Focus Area เป้าหมาย KM (1) เป้าหมาย KM(3) เป้าหมาย KM(2)

  20. ตัวอย่าง การกำหนดขอบเขต KM และเป้าหมาย KM ขอบเขต KM : ข้อ 1.การเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมด้านน้ำ เป้าหมาย KM (Desired State)คือ 1. โรงพยาบาลภายใต้การควบคุมดูแลขององค์กร สามารถจัดการความรู้ ด้านควบคุมคุณภาพน้ำเสียให้ได้ตามกฎหมายหรือได้มาตรฐานที่สูง กว่า อย่างน้อย 3 โรงพยาบาล ภายในปี 2549 2. องค์กร สามารถจัดการความรู้ด้านการรักษาสภาพแวดล้อมของแหล่งน้ำ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแล ให้ได้ตามกฎหมายหรือได้มาตรฐานที่สูงกว่าในทุกแหล่งน้ำ ภายในปี 2549

  21. การกำหนดขอบเขต KM และเป้าหมาย KM กรณีส่วนแผนงาน ขอบเขต KM : การวางแผนและงบประมาณ เป้าหมาย KM (Desired State)คือ 1. ส่วนแผนงาน มีระบบการจัดทำงบประมาณแบบกองทุน โดยเริ่มต้นใช้ในปี งปม 2552 และพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นเพื่อใช้ในปี งปม 2553

  22. ตัวอย่าง: องค์ประกอบของแผนการปฏิบัติการ KM กิจกรรม (Activities) ระยะเวลา (Timeline) วิธีการสู่ความสำเร็จ (Mean to Achieve) ทรัพยากร (Resources) ผู้รับผิดชอบ (Responsible) กระบวนการและ เครื่องมือ กระบวนการ • กำหนดเป้าหมาย • (Desired state) • - จัดทำ Work shop KM • จัดทำระบบการสับเปลี่ยน • หมุนเวียนงาน • - ข้อมูลการสำรวจความ • ต้องการจัดการความรู้, • ข้อมูลการสอนงาน/ • สับเปลี่ยนงาน, • ผู้ที่จะเป็นพี่เลี้ยง/ ผู้อำนวยการและ KM Team กระบวนการจัดการความรู้ 20เม.ย-31พ.ค.48 การสื่อสาร การสร้างความตระหนัก ในความสำคัญของ KM - การจัดทำ KM News Letter - บอร์ด KM - Website KM - เขียนหนังสือ/บทความ Km - สติ๊กเกอร์ KM - กล่องรับความคิดเห็น KM Team งบประมาณ อุปกรณ์/เครื่องใช้, กระดาษสี/โปสเตอร์, คอมพิวเตอร์,เครื่องพิมพ์, KM Team และตัวแทน แต่ละหน่วยงาน 1ก.พ.–30เม.ย.48 การบริหารการเปลี่ยนแปลง

  23. กรอบแบบฟอร์มเพื่อกำหนดกรอบแบบฟอร์มเพื่อกำหนด KM Process

  24. กรอกแบบฟอร์มเพื่อกำหนดกรอกแบบฟอร์มเพื่อกำหนด Change Management Process

  25. THANK YOU for your attention…

More Related