1 / 52

Game Theory, Game Tree, Puzzle

Game Theory, Game Tree, Puzzle. อ.ดร.ยอดธง รอดแก้ว. เกมแห่งชีวิต:ปัญหาและทางเลือก. คุณลุงท่านหนึ่งโดนรถชนบาดเจ็บสาหัสต้องนอนพักในโรงพยาบาลหลายเดือน ซึ่งรถคันนั้นขับโดยว่าที่คุณหมอ

edana
Download Presentation

Game Theory, Game Tree, Puzzle

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Game Theory, Game Tree, Puzzle อ.ดร.ยอดธง รอดแก้ว

  2. เกมแห่งชีวิต:ปัญหาและทางเลือกเกมแห่งชีวิต:ปัญหาและทางเลือก • คุณลุงท่านหนึ่งโดนรถชนบาดเจ็บสาหัสต้องนอนพักในโรงพยาบาลหลายเดือน ซึ่งรถคันนั้นขับโดยว่าที่คุณหมอ • ว่าที่คุณหมอขอร้องไม่ให้คุณลุงนำเรื่องนี้ลงบันทึกประจำวัน เพราะหากลงบันทึกประจำวัน อนาคตของการเป็นหมอต้องดับวูบ เพราะเหตุขับรถโดยประมาท • และสัญญาว่าจะยินยอมชดใช้ค่ารักษาพยาบาลให้ • ถ้าคุณเป็นญาติลุงท่านนี้ ท่านจะแจ้งความและลงบันทึกประจำวันหรือไม่ ? เพราะเหตุใด ? • (ดัดแปลงจากหนังสือ เอาตัวรอดด้วยทฤษฎีเกม ของ นรินทร์ โอฬารกิจอนันต์

  3. ปัญหาและทางเลือก แจ้งความ+ลงบันทึกประจำวัน ลุง ใช่ ไม่ ดี ชั่ว ต้องใช้ค่าเสียหาย ว่าที่หมอ และโดนคดี หมดอนาคต ต้องใช้ค่าเสียหาย หนี

  4. ปัญหาและทางเลือก • คุณลุงไม่ได้แจ้งความและลงบันทึกประจำวันเพราะเห็นแก่อนาคตหมอหนุ่ม • ว่าที่หมอ มาเยี่ยม 2-3 ครั้ง แล้วก็หายตัวไป • คุณลุงพยายามติดต่อกลับไป เพื่อให้จ่ายค่ารักษาพยาบาล • ว่าที่หมอ ไม่จ่าย และ ขู่ว่าถ้าติดต่อมาอีก จะฟ้องคุณลุงในข้อหาปรักปรำ • (ดัดแปลงจากหนังสือ เอาตัวรอดด้วยทฤษฎีเกม ของ นรินทร์ โอฬารกิจอนันต์

  5. ปัญหาและทางเลือก Cost แจ้งความ+ลงบันทึกประจำวัน -1,750,000 ลุง ใช่ ไม่ ดี ชั่ว ต้องใช้ค่าเสียหาย ค่ารักษาพยาบาล ต้องใช้ ค่ารักษาพยาบาล ว่าที่หมอ หนี และโดนคดี หมดอนาคต 0 ว่าที่หมอCost -5,000,000 -500,000 -1,750,000 -1,250,000 ลุงCost -250,000

  6. ปัญหาและทางเลือก • ข้อสรุป: เมื่อได้เลือก ผู้เล่นจะตัดสินใจเลือกทางที่ได้เปรียบมากที่สุดเสมอ • ผู้เริ่มศึกษาทฤษฎีเกม(Game Theory) ในระยะแรกคือ จอห์น ฟอน นอยมันน์ และออสการ์ มอร์เกินสเติร์น โดยได้ตีพิมพ์ตำรา Theory of Games and Economic Behavior ใน พ.ศ. 2487 ต่อมา จอห์น แนช ได้พัฒนาการศึกษาในด้านนี้และได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์จากการนำทฤษฎีเกมไปประยุกต์ใช้ในด้านเศรษฐศาสตร์ ต่อมาได้นำไปสร้างภาพยนตร์ เรื่อง A Beautiful Mind

  7. เกมรูปแบบครอบคลุม (Extensive form) • เกมรูปแบบครอบคลุม เป็นเกมที่ผู้เล่นแต่ละคนตัดสินใจเลือกทางเลือกต่าง ๆ ตามลำดับ • โดยผู้เล่นจะทราบถึงการตัดสินใจของผู้เล่นอีกฝ่ายในตาก่อนหน้า • ใช้รูปแผนภาพต้นไม้ โดยตั้งต้นที่จุดเริ่มแรก และจบที่จุดสิ้นสุดของเกม ซึ่งสามารถมีได้หลายจุด มีการใช้จุดยอดแทนสถานะที่มีทางเลือกในการตัดสินใจของผู้เล่น และใช้เส้นแทนทางเลือกของผู้เล่นในตาถัดไป

  8. เกมรูปแบบครอบคลุม (Extensive form) • สำหรับเกมในภาพ มีผู้เล่นสองคน ผู้เล่น 1 ตัดสินใจเลือกก่อนระหว่าง ทางเลือก F และทางเลือก U จากนั้นผู้เล่น 2 ซึ่งทราบถึงการตัดสินใจของผู้เล่น 1 ตัดสินใจเลือกระหว่าง ทางเลือก A และทางเลือก R โดยมีผลตอบแทนที่ได้แสดงไว้ด้านล่าง เช่น ถ้าผู้เล่น 1 เลือก U และผู้เล่น 2 เลือก A ผลตอบแทนที่ได้คือ ผู้เล่น 1 ได้ 8 และผู้เล่น 2 ได้ 2 • เกมหลายชนิด เช่น หมากรุก ทิก-แทก-โท ก็ถือว่าเป็นเกมรูปแบบครอบคลุม จึงสามารถหาวิธีที่ดีที่สุดในการเล่นเกมเหล่านี้ได้ โดยการใช้แผนภาพต้นไม้ http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีเกม

  9. เกมรูปแบบปกติ (Normal form) • เป็นเกมที่ผู้เล่นไม่ทราบถึงการตัดสินใจของผู้เล่นคนอื่น • นิยมเขียนแสดงเกมในรูปแบบตาราง ซึ่งมักจะใช้ในกรณีที่มีผู้เล่น 2 คน • โดยผู้เล่นคนหนึ่งจะแทนการตัดสินใจด้วยแถวต่าง ๆ และผู้เล่นอีกคนหนึ่งแทนการตัดสินใจด้วยคอลัมน์ต่าง ๆ http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีเกม

  10. เกมรูปแบบปกติ (Normal form) • สำหรับเกมในภาพ ผู้เล่น 1 มีทางเลือก 2 ทาง คือ บน และ ล่าง ส่วนผู้เล่น 2 มีทางเลือก 2 ทาง คือ ซ้าย และ ขวา จุดตัดของแถวและคอลัมน์จะแสดงถึงผลตอบแทนที่ผู้เล่นทั้งสองได้รับ เช่น ถ้าผู้เล่น 1 เลือก บน และผู้เล่น 2 เลือก ซ้าย ผลตอบแทนที่ได้คือ ผู้เล่น 1 ได้ 4 และผู้เล่น 2 ได้ 3 http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีเกม

  11. ชนิดของเกม เกมร่วมมือ และเกมไม่ร่วมมือ (Cooperative or non-cooperative) • เกมร่วมมือ (Cooperative)เป็นเกมที่ผู้เล่นแต่ละฝ่ายสามารถตกลงกันได้ • เพื่อให้ได้รับผลตอบแทนรวมที่ดีที่สุด โดยจะถือว่าผู้เล่นที่ร่วมมือกันจะเป็นผู้เล่นฝ่ายเดียวกันและจะปฏิบัติตามข้อตกลงที่ได้ตกลงกันไว้ • เกมไม่ร่วมมือ (Non-cooperative)เป็นเกมผู้เล่นแต่ละฝ่ายไม่สามารถตกลงผลตอบแทนกันได้ • จะต้องตัดสินใจโดยใช้ผลตอบแทนของตนเป็นหลักเท่านั้น http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีเกม

  12. ชนิดของเกม เกมสมมาตร และเกมไม่สมมาตร(Symmetric and asymmetric) • เกมสมมาตรมีกลยุทธในการเล่นที่เหมือนกันสำหรับผู้เล่นทุกคน ได้ผลเหมือนกัน ที่มีชื่อเสียงจำนวนมากจัดอยุ่ในประเภทนี้ เช่น เกมความลำบากใจของนักโทษ เกมไก่ตื่น และเกมความร่วมใจ • เกมไม่สมมาตรมีกลยุทธในการเล่นที่แตกต่างกันออกไปสำหรับผู้เล่นแต่ละคน เช่นเกมในภาพถือว่าเป็นเกมไม่สมมาตร ถึงแม้กลยุทธในการเล่นที่ดีที่สุดจะเป็นกลยุทธเดียวกันก็ตาม http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีเกม

  13. ชนิดของเกม เกมผลรวมศูนย์ และเกมผลรวมไม่เป็นศูนย์ (Zero sum and non-zero sum) • เกมผลรวมศูนย์ (Zero sum)ผลรวมของผลตอบแทนที่ได้ของผู้เล่นจะเป็นค่าคงที่ เช่น การแบ่งปันผลกำไร หรือเกมที่มีผู้ชนะและผู้แพ้ เช่น หมากรุก หมากล้อม มีคนได้ มีคนเสีย เมื่อได้ผลตอบแทนมากที่สุดจะเป็นวิธีเดียวกับที่ทำให้ฝ่ายตรงข้ามได้ผลตอบแทนน้อยที่สุด • เกมผลรวมไม่เป็นศูนย์(Non-zero sum) ในความเป็นจริง ผลลัพธ์ที่ได้ไม่จำเป็นต้องคงที่เสมอไป ขึ้นอยู่กับแนวทางการตัดสินใจของแต่ละฝ่าย ดังนั้น การได้รับผลตอบแทนมากที่สุดจึงไม่จำเป็นต้องทำให้ฝ่ายตรงข้ามได้ผลตอบแทนน้อยที่สุด http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีเกม

  14. ชนิดของเกม เกมเดินพร้อมกัน และเกมผลัดกันเดิน (Simultaneous and sequential) • เกมเดินพร้อมกัน(Simultaneous)ผู้เล่นสามารถตัดสินใจเลือกได้พร้อมกัน โดยไม่ต้องรออีกฝ่ายหนึ่ง • ผู้เล่นไม่ทราบการเดินของอีกฝ่าย • เกมผลัดกันเดิน(sequential) ผู้เล่นสามารถเลือกภายหลังจากฝ่ายหนึ่งได้ตัดสินใจเลือกแล้ว • ผู้เล่นทราบการเดินของอีกฝ่ายในครั้งที่แล้ว http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีเกม

  15. ชนิดของเกม เกมที่มีข้อมูลครบถ้วน และเกมที่มีข้อมูลไม่ครบถ้วน (Perfect information and imperfect information) • เกมข้อมูลครบถ้วน(Perfect information)ผู้เล่นทุกฝ่ายทราบการเดินของอีกฝ่าย • เกมข้อมูลไม่ครบถ้วน(Imperfect information) ผู้เล่นไม่ทราบการเดินของอีกฝ่าย • โดยส่วนใหญ่ เกมผลัดกันเดินเป็นเกมที่มีข้อมูลครบถ้วน http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีเกม

  16. ตัวอย่างเกม : เกมความลำบากใจของนักโทษprisoner's dilemma • เรื่องมีอยู่ว่า มีคน 2 คนถูกตำรวจจับ แต่ไม่มีหลักฐานทำผิด ตำรวจเลยจับแยกกันสอบสวน • โดยคนทั้งสองก่อนถูกจับตกลงกันว่าจะไม่กล่าวโทษฝ่ายใด • ถ้าปิดปากเงียบทั้งคู่จะติดคุกคนละ 6 เดือน • ถ้าคนหนึ่งกล่าวโทษอีกฝ่าย(หักหลัง)จะไม่ติดคุกส่วนอีกคนจะติดคุก 10 ปี • ถ้าหักหลังทั้งคู่ติดคุกคนละ 5 ปี • แต่ละคนควรทำเช่นไร ? B เงียบ B หักหลัง A เงียบ -0.5, -0.5 -10, 0 A หักหลัง 0, -10 -5,-5 CSI:CrimeSceneInvestigation3DofMurder http://en.wikipedia.org/wiki/Prisoner_dilemma

  17. -10 +1 -1 ตัวอย่างเกม : เกมไก่ตื่น chicken • เรื่องมีอยู่ว่า มีคนขับรถอยู่ 2 คัน คนนึงขับรถตามเลน อีกคนขับสวนเลน • จะด้วยเหตุใดก็ตาม 2 คันนี้จะต้องชนกันอย่างแน่นอน ( -10 ) ไม่ใครก็ใครต้องเป็นคนหักหลบ • ถ้าหลบทั้งคู่ ก็จะอยู่คนละครึ่งถนน ( 0, 0) ผ่านไปได้ทั้งคู่โดยไม่ลงข้างทาง • แต่ถ้าหักหลบข้างเดียว รถก็จะพุ่งลงไหล่ทาง ( -1 )ส่วนคนที่ไม่หลบก็ขับต่อไปได้ ( +1 ) • ที่เรียกว่าไก่ (chicken) เพราะฝรั่งหยามคนขลาดที่หักหลบ (chicken=coward) คงคล้ายกับที่เราเรียกว่าใครเป็นหมูอู๊ดๆในเกม B หลบ B ไม่หลบ A หลบ 0,0-1,+1 A ไม่หลบ +1,-1-10,-10 http://en.wikipedia.org/wiki/Chicken_(game)

  18. ตัวอย่างเกม : เกมล่ากวาง stag hunt B กวาง B กระต่าย A กวาง +5, +5 0, +3 A กระต่าย +3,0 +1,+1 • มีคน 2 คน ออกล่าสัตว์ ใครยิงอะไรก็ได้ตัวนั้นไป • แต่ละคนสามารถเลือกว่าจะยิงกวาง หรือกระต่าย โดยที่แต่ละคนไม่รู้ว่าใครจะยิงอะไร • ถ้าจะยิงกวาง ต้องช่วยกันทั้งสองคน คนใดคนหนึ่งยิงไปคนเดียว กวางจะหนีไป (+0) • ถ้าจะยิงกระต่าย (ผู้ชายน่อ อย่าคิดลึก ) คนเดียวก็ยิงได้กระต่าย (+3) โดยที่ราคาของกระต่าย ย่อมน้อยกว่า ราคาของกวางที่แบ่งกันแล้ว • ถ้ายิงกระต่ายตัวเดียวกัน ก็จะแบ่งกัน หรือกระต่ายตัวเล็กได้น้อยหน่อย ( +1,+1) ถ้าได้กวางก็จะได้ (+5,+5) ปกติเกมนี้แสดงถึงการร่วมมือกัน เป็นคะแนนด้านกลับของ เกมนักโทษ เกมล่านี้เป็นแรงจูงใจด้านบวก ส่วน เกมนักโทษ เป็นแรงจูงใจด้านลบ B ร่วมมือ B หักหลัง A ร่วมมือ +5, +50, +3 A หักหลัง +3,0+1,+1 http://en.wikipedia.org/wiki/Stag_hunt

  19. A A A A B B B B +2 +2 Centipede Game เกม 100 รอบ เกมนี้เป็นแบบ win-win situation ไม่เป็น zero sum มีคนเล่น 2 คน เมื่อเริ่มเกมคนเล่นคนที่ 1 จะได้ โถ 2 ใบ โถใบแรก ใส่ทอง 2 เหรียญ โถใบที่สอง ว่างเปล่า (2,0) • ผู้เล่นเมื่อมีโถในมือ สามารถเลือกได้ว่า • #1 จะเอาโถใบที่ได้เงินเยอะ แล้ว เอาโถที่ได้เงินน้อยให้อีกคน เป็นการจบเกม • #2 ส่งโถทั้งสองใบ ให้อีกฝ่าย ทุกครั้งที่ส่งโถไป เงินในโถ(มหัศจรรย์)นี้จะเพิ่ม โถละ 1 เหรียญทอง • ดังนั้นในรอบต่อมาจากโถ (2,0) จะเป็น (3,1) • ในรอบต่อมา เป็น (4,2) --> (5,3) --> (6,4) --> • เกมนี้กำหนดให้จบเกมที่ 100 รอบ อิอิ อ้าก http://en.wikipedia.org/wiki/Centipede_Game

  20. เล่นให้จบเกมสิ 99 97 +2 รอบที่ #97 A A A A A B B B B B +2 100 98 รอบที่ #98 101 99 +2 รอบที่ #99 +2 102 100 รอบที่ #100 102 100 Centipede Game เกม 100 รอบ ดังนั้นในรอบที่ #100 จะมีเงินในโถ ( 102,100 ) คนที่หยุดเกมในรอบที่ #100 จะได้ 102 ส่วนอีกคนจะได้ 100 ถ้าหยุดเกมในรอบที่ #99 คนที่หยุดเกมจะได้ 101 ส่วนอีกคนจะได้ 99 ถ้าหยุดเกมในรอบที่ #98 คนที่หยุดเกมจะได้ 100 ส่วนอีกคนจะได้ 98 ... ไปเรื่อยๆ นึกแล้ว เชียว http://en.wikipedia.org/wiki/Centipede_Game

  21. 99 97 +2 รอบที่ #97 +2 100 98 A A A A A B B B B B รอบที่ #98 101 99 +2 รอบที่ #99 +2 102 100 รอบที่ #100 102 100 ถ้า B หยุดเกมที่ #100 (B จะได้ทอง 102 A ได้ 100) แต่ถ้า A บอกว่า ไม่เอา 100 จะเอา 101 เพราะรู้ว่าเกมรอบที่ #100 มันจบแน่ๆ ก็เลยหยุดที่ รอบ #99 แทน เพื่อเอาทอง 101 (A ได้ 101 B ได้ 99) และ มองทางฝั่ง B รอบที่ #99 ถ้า A มันหยุดเล่น .. เราต้องได้ 99 แน่เลย อย่า กระนั้นเลย หยุดรอบที่ #98 ดีกว่า เราจะได้ 100 (B ได้ 100 A ได้ 98) .. ไปเรื่อยๆ ดังนั้น เกมนี้จึงสรุปว่า ถ้าใครหยุดเล่นก่อน จะได้ทอง +1 เหรียญ ดีกว่าปล่อยให้อีกฝั่งหยุดเล่น ในครั้งต่อไป แต่ถ้ารีบหยุดเล่นเลยก็จะได้น้อยไม่คุ้มค่า (ซึ่งตามเกมจะมีโอกาสได้ทองตั้ง 102 เหรียญ) ดังนั้นคำถามคือ เกมนี้ ควรหยุดเล่นเมื่อใด ? ? ? http://en.wikipedia.org/wiki/Centipede_Game

  22. คุณสมบัติของเกมที่จะกล่าวถึงในที่นี้ .. • เกมรูปแบบครอบคลุม (Extensive form) • เกมไม่ร่วมมือ (Non-cooperative) • เกมสมมาตร (Symmetric) • เกมผลรวมศูนย์ (Zero sum) • เกมผลัดกันเดิน (Sequential) • เกมข้อมูลครบถ้วน (Perfect information)

  23. Search Tree การวางตำแหน่งของx การวางตำแหน่งของO การวางตำแหน่งของx การวางตำแหน่งของO Source: Aritificial Intelligence : A System Approach M Tim Jones

  24. Search Tree 1 ply 2 ply Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  25. ฮิวริสติก (heuristics) ในการหาโอกาสที่จะชนะในเกม ox heuristics (n.) the study of how people use their experience to find answers to questions or to improve performance (longman) Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  26. การตัดเส้นทางการคำนวณที่ไม่จำเป็น ของฝ่าย x โดยการใช้ฮิวริสติก Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  27. การคำนวณ คะแนนของกระดาน ของฝ่าย x โดยการใช้ฮิวริสติก Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  28. Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  29. Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  30. Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  31. ผลัดให้อีกฝ่าย 1.รับข้อมูล 6. AI คำนวณ การเดิน ผิด 2.เดินได้ ถูก 7.ปรับปรุง กระดาน +เช็คคะแนน 3.ปรับปรุง กระดาน +เช็คคะแนน 8.แสดงผล 4.แสดงผล ไม่ 9.จบเกม? จบเกม 5.จบเกม? ใช่ เริ่มเกม+ตั้งกระดาน • ส่วนรับข้อมูล • ส่วนแสดงผล • AI ส่วนคำนวณเกม • ส่วนคำนวณช่องการเดินตาหมาก • ส่วนคิดคะแนนของเกม • ส่วนคำนวณ tree pruning • ส่วนคำนวณจบเกม

  32. เริ่มเกม+ตั้งกระดาน 5.ปรับปรุง กระดาน +เช็คคะแนน 1.ฝ่ายที่จะเดิน เครื่อง คน 6.แสดงผล 3. AI คำนวณ การเดิน 2.รับข้อมูล จบเกม ผิด 7.จบเกม? ใช่ ไม่ 4.เดินได้ 8.สลับฝ่าย ถูก

  33. AI ส่วนคำนวณเกม • ส่วนคำนวณช่องการเดินตาหมาก • ส่วนคิดคะแนนของเกม • ส่วนคำนวณ tree pruning • ส่วนคำนวณจบเกม

  34. MINIMAX ALGORITHM player opponent player opponent Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  35. Alpha-Beta Pruning (AB Pruning) prun if lower node < upper node 0<3 alpha cut 2<3 alpha cut lower node > upper node 5>3 beta cut lower node < upper node alpha = min node beta = max node 1.alpha pruned/cut in min node alpha < beta 2.beta pruned/cut in max node alpha > beta Source: Aritificial Intelligence George F Luger

  36. http://en.wikipedia.org/wiki/Alpha-beta_pruning

  37. blank page

  38. Puzzle • โดยทั่วไป puzzle หมายถึงปริศนาที่เป็นชิ้นๆ

  39. 15-Puzzle • แนวทางการสร้าง 15-puzzle – สุ่มอย่างไร ? – เช็คอย่างไร ? 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 8 5 6 7 8 5 6 7 8 9 10 11 12 9 10 11 0 9 10 0 11 13 14 15 0 13 14 15 13 14 15 12 12 random สลับ ที่ว่างๆ กับตัวอื่นๆ random สลับ ที่ว่างๆ กับตัวอื่นๆ สลับไปเรื่อยๆ set ค่าเริ่มต้นก่อน ให้เป็น goal

  40. Rubik • แนวทางการสร้าง rubik – สุ่มอย่างไร ? – เช็คอย่างไร ? random สลับ ที่ว่างๆ กับตัวอื่นๆ random สลับ ที่ว่างๆ กับตัวอื่นๆ สลับไปเรื่อยๆ set ค่าเริ่มต้นก่อน ให้เป็น goal สรุปว่า ปริศนาทั่วไป ให้สร้าง goal ก่อน แล้ว สุ่มสลับลำดับใหม่ ก็จะได้ปริศนาไว้เล่น

  41. Brick • click อย่างเดียว สีที่มากกว่า 1 ตัวที่อยู่ใกล้กัน หายไป นับจำนวนชิ้นสีติดกันที่มากที่สุด + หล่น

  42. Column • piece = 3 ชิ้น แนวตั้ง สลับลำดับได้ ครบสีอย่างน้อย 3 ตัวถึงหายไป + หล่น

  43. Dr.Mario • piece = 2 ชิ้น แนวตั้ง/นอน หมุนได้ ครบสีอย่างน้อย 3 ตัวถึงหายไป + หล่น

  44. Puyo Puyo • piece = 2 ชิ้น แนวตั้งหรือนอน หมุนได้ ครบสีอย่างน้อย 3 ตัวถึงหายไป + หล่น

  45. Tetris • piece = 3-4 ชิ้น ขนาดแตกต่างกัน ครบแถวแนวนอนอย่างน้อย 1 แถวถึงหายไป หล่นทั้งแถว

  46. Bejweled • สลับตัว point + click จับคู่ 3 ตัวให้เป็นแถวเรียงแนวตั้ง หรือแนวนอน จึงหายไป + หล่น

  47. Chuzzle • เลื่อนแถว แนวนอน หรือ แนวตั้ง ถ้ามีสีต่อกันอย่างน้อย 3 สี ก็จะหายไป + หล่น

  48. Puzzle Bobble • ยิงลูกบอลสี 1 ลูก ขึ้นไป ติดข้างบน ใช้เล็ง เมื่อครบอย่างน้อย 3 = หายไป ฉากเลื่อนลงได้

  49. Zuma • ยิงลูกบอลสี 1 ลูก ทางใดก็ได้ ให้ติดในแถว ใช้เล็ง เมื่อครบอย่างน้อย 3 = หายไป เลื่อนเป็นเส้นแทน

  50. ปัญหาของการเช็คว่าแต่ล่ะสีมีสีเหมือนกันใกล้ๆ กี่ชิ้น • สร้าง array เก็บข้อมูล

More Related