150 likes | 422 Views
Service Plan 10 สาขา. สมุทรสาคร 23 มกราคม 2556. วิธีเขียนโครงการของ service plan 10 สาขา. ควรเขียนโครงการ เน้นสิ่งที่อยากพัฒนาให้เกิดขึ้น กำหนดเป้าหมายของผลลัพธ์สุดท้าย ไม่ใช่ process ( to achieve target)
E N D
Service Plan 10 สาขา สมุทรสาคร 23 มกราคม 2556
วิธีเขียนโครงการของ service plan 10 สาขา • ควรเขียนโครงการ เน้นสิ่งที่อยากพัฒนาให้เกิดขึ้น กำหนดเป้าหมายของผลลัพธ์สุดท้าย ไม่ใช่ process (to achieve target) • อย่าผูกกับเรื่องเงินที่จะขอ ไม่งั้นจะเป็นการจัดประชุม อบรมหมดควรเป็นโครงการพัฒนา (development project) มุ่งหา target โดยตรง • แผนควรพูดถึงรูปธรรม:how to get there อย่างเป็นขั้นตอน เฉพาะเจาะจงไม่ควรเขียนโครงการแบบเป็นนามธรรม ซึ่งจะไม่สำเร็จ
1. ศูนย์หัวใจ • ให้ทบทวนว่าจะ focus / hi-light ที่ปัญหาตรงไหน อย่าเน้นประชุมอย่างเดียวเช่นถ้า focus ที่รพ.ชช.เน้น early diagnosis, ที่ รพท.เน้น fast track, diagnosis ให้ถูกต้อง หรืออย่างน้อยให้ Thrombolytic agent ได้ แล้วมีเส้นทางเข้าสู่กระบวนการ Reperfusion (PCI) ที่ชัดเจน
2. Trauma • ตีวงให้แคบลงมา นำข้อมูลมาดู อาจไม่ใช่ฐานข้อมูลจาก trauma registry อย่างเดียว โดยให้เน้นที่การรักษามากขึ้น • ควรวิเคราะห์จากปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น การ trace ตามกลุ่มผป.trauma, neurosurgery ที่ต้องผ่าตัดในช่วงเวลาหนึ่ง(เช่น ช่วง 7 วันอันตราย) เพื่อหาว่าปัญหาในระบบการให้บริการผู้ป่วยมีจุดอ่อนตรงจุดไหนบ้างที่ต้องปรับปรุง การกระจายทรัพยากรเหมาะสม เพียงพอหรือไม่ ควรใช้ระบบการshare ทรัพยากรอย่างไร , ปัญหา ICU มีอะไรบ้างจะบอกได้ว่าควรเพิ่ม ICU หรือบริหารให้มีประสิทธิภาพอย่างไร
3. ไต ตา • ระยะแรก ผป. NCD มักเกิด CKD:หัวใจการแก้ไข อยู่ที่ การ screening ให้ผู้รับบริการเข้าสู่ระบบมากขึ้น • ผป.DM + HT ได้รับการวินิจฉัย CKD แต่ก็ยังเกิด ไตวาย :หัวใจอยู่ที่ การป้องกันไม่ให้เกิด + staging การเตรียมผป.สู่กระบวนการ hemodialysis, CAPD ไม่ควรเป็น unplanned • ในรพ.ชช.ที่ไม่มีอายุรแพทย์ อาจเน้นการอบรม แต่รพ.ที่มี CKD clinic เน้นการพัฒนาระบบ • ตา โครงการ diagแล้วส่งมา ควรมีการคำนวนว่าจักษุแพทย์ในเครือข่ายมี/ปี ? ควรรับ screening ได้? แล้วผ่าตัดกี่ %
4. ทารกแรกเกิด • NB immature with LBW ควรจับประเด็น ลดอัตราตายทารก และการคัดกรอง ROP, OAE ซึ่งเกิดเมื่อมีทารก และอยู่ในมือ specialist จำเป็นต้องทำ และจะทำเมื่อไร • BA เป็นเรื่องของความพร้อม Labor room ในการ detect, ลดเวลาของ fetal distress ซึ่งเป็นใน รพ.ชช. ควรให้ สสจ.เป็นผู้ดูแล • IVH ต้องใช้รังสีแพทย์ ซึ่งมีงานมากอยู่ รอพัฒนาในระยะต่อไป
5. NCD จากประเด็นปัญหา ให้เลือกเป้าหมายหลักมาที่จะทำก่อน ที่น่าสนใจ เช่น • CUP/Disease management ที่ผ่านมา ปัญหาคืออะไร เพื่อนำมาแก้ให้ตรงจุดเช่นถ้าขาด protocol ก็แก้ที่ทำ และ implement Protocol รวม รพ.สต.ด้วย (ต้องดูชุมชน community intervention ไปด้วย) ไม่ใช่อบรมอย่างเดียว • NCD clinic คุณภาพให้ดูว่ากลุ่ม เริ่มต้นรักษา กลุ่ม uncontrolled กลุ่ม stable จะมีการ classify, มีprotocol อย่างไรให้ ผป.อยู่ในระยะที่พอดีไม่ยากจนปฏิบัติไม่ได้ ไม่ง่ายเกินไปจนควบคุมโรคไม่ได้ • เน้นการดูแลใน clinic ส่วนการคัดกรองให้ PP กลุ่มวัยทำ
6. ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม • แผนควรพูดถึงรูปธรรม:how to get there (อย่างเป็นขั้นตอน เฉพาะเจาะจง) ไม่ควรเขียนโครงการแบบเป็นนามธรรม ซึ่งจะไม่สำเร็จ • DHS เป็น ความคิด/concept ตัวแผนควรเป็นแผนพัฒนาสุขภาพของอำเภอที่สะท้อนภาพการทำงานของงานอำเภอ/ท้องถิ่นที่ชัดเจน • การลดความแออัด คือเป้าหมายจะทำได้คือ shift ผป.ที่ไม่จำเป็นต้องมารพ.ให้ออกจาก รพ. เช่น ผป. DM กลุ่ม 1,2 เริ่มแรก/กลับจากรพ.ไม่ควรมารพ. ผป.ที่เริ่มมีโรคแทรก(กลุ่ม 3) ถึงควรมารพ.
7. ทันตกรรม • เรื่องใดที่เคยทำโครงการดำเนินการมาแล้วแต่ไม่สำเร็จ ควรหันไปทำอย่างอื่น พื้นที่ใดที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย ควรวิเคราะห์ว่าประเด็นใดที่ต้องทำ (เช่นการ monitor) • ความสำเร็จอยู่ที่การนำบริการที่จำเป็นนี้เข้าสู่กลุ่มเป้าหมายอย่างไรเน้นดูเป้าหมาย และคำนึงถึง บุคลากร อุปกรณ์ การ share ทรัพยากร(ทันตบุคลากร)ข้ามอำเภอ/จังหวัด • ไม่ควรใช้อสม.มาทำงานแทนงานที่บุคลากรสาธารณสุข(ทันตบุคลากร)ต้องทำเอง อาจให้ช่วยในการกระตุ้น หา case (แต่ไม่ใช่ให้ fluoride, การตรวจฟัน) • มะเร็งช่องปาก ปัญหาอยู่ที่การเข้าถึงบริการ (การค้นหา case ยังน้อยเกินไป) หรือ missed diagnosis ในการ screening ในการนำผป.เข้าสู่การรักษา
8. มะเร็ง Chemotherapy ควรกระจายให้ได้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ ตั้งเป้าไว้ว่าจะให้ได้กี่แห่ง • ในแต่ละแห่ง setting แบบใดบ้าง ใน tumor unit จะมีกี่เตียงพยาบาลที่ดูแลผป. (อาจเป็นพยาบาล oncoหรืออบรม) • รพ.ที่มีอยู่แล้วจะพัฒนาอย่างไร รพ.ที่ยังไม่มีจะทำอย่างไรบ้าง ต้องมีการสนับสนุนทรัพยากรอะไร (ให้เหมาะสมกับบริบทในเขต) • รพท.ที่ต้องรองรับผป.จะมีแนวทางปฏิบัติอย่างไร
9. จิตเวช • การจัดทำบัญชียาจิตเวช เป้าหมายชัดเจนแล้ว • Gap ในระบบ คือ การดูแลผป.ในรพ.ขนาดเล็ก: ปัญหาของผป.ถูกทอดทิ้ง ขาดผู้ดูแลรับผิดชอบ โดยเฉพาะใน รพ.ชช. และ ศักยภาพ รพ.ชช.ในการดูแลผป.จิตเวช • การจัดบทบาทหน้าที่บุคลากรในระบบ: ผู้ดูแลรับผิดชอบ อาจเป็นพยาบาลจิตเวชและ system manager ระดับอำเภอในการดูแลครอบคลุม ผป.จิตเวชทั้งชุมชน • การ screen ผป.จิตเวช: เพื่อให้ทราบว่าเมื่อไรควรนำผป.เข้าระบบ เมื่อไรจะต้องส่งต่อแนวทางคู่มือการดูแลผป.แต่ละประเภท แนวทางในการส่งต่อ • การเข้าหากลุ่มเด็ก เพื่อ screen EQ เช่น พฤติกรรมเริ่มก้าวร้าว มีพฤติกรรมเสี่ยงจะใช้ยาเสพติด
10. การพัฒนา 5 สาขาหลัก ศัลยกรรม: • หลักการว่าที่ไหนควรทำแค่ไหนก็ทำให้เต็มประสิทธิภาพ ในระยะที่บางรพ.ที่ควรทำบริการใดได้ แต่ยังขาดความพร้อม ระบบพบส.การช่วยเหลือจากรพ.ที่พร้อม ช่วย support ให้ในช่วงแรก เพื่อความยั่งยืนมากกว่าวิธีการหมุนเวียนspecialist ออกไปเรื่อยๆ • รพ.ไหนที่ทรัพยากรพร้อมแล้วแต่ไม่ทำก็ต้องมีการpush ให้ทำ • แต่รพ.ที่ไหนไม่ควรทำ ก็ไม่ควรทำ
10. การพัฒนา 5 สาขาหลัก • อายุรกรรม: กำหนดจุดที่ควรมี stroke fast track ให้ชัดเจนในแผน และ สิ่งสนับสนุนในพื้นที่ (เช่น CT) ทรัพยากร เช่นแพทย์ อายุรกรรม/cardio med/neurosurgeon กำหนดว่าควรทำได้แค่ไหน ให้ยา ผ่าตัด
10. การพัฒนา 5 สาขาหลัก • กุมารเวชกรรม: ควรปรับเกณฑ์มาตรฐานการดูแลตามบริบทของรพ.แต่ละระดับ เช่นในรพ.ที่มีกุมารแพทย์คนเดียว และต้องใช้แพทย์ด้านอื่นช่วยดูแลผป.เด็กนอกเวลาด้วย การให้มี respirator หลายเครื่องอาจเป็นภาระ
10. การพัฒนา 5 สาขาหลัก Ortho: แบ่งกลุ่มผป. เพื่อให้ target ที่จะพัฒนาแคบลง • กลุ่มที่ต้องทำ screening for Prevention ในระยะนี้ กลุ่มนี้จะ consume ทรัพยากรมาก ควรเริ่มต้นที่กลุ่มอื่นก่อน • กลุ่มที่มี late pathology ต้องให้การรักษา • ควรเน้น กลุ่มที่ต้องทำ rehab หลังการผ่าตัด และ การลดผป.ติดเตียงให้กลับบ้านจะทำอย่างไรที่จะ encourage ผป.และชุมชน เพื่อให้ผป.กลับสู่สภาพเดิมให้มากที่สุด เน้นในรพ.ก่อนในรพ.สต.