1 / 0

Computer

Introduction to. Computer. อ.วิรยา สีขาว. Computer. คอมพิวเตอร์คืออะไร. Computer. ความหมายและความเป็นมา. คอมพิวเตอร์. หมายถึง.

elewa
Download Presentation

Computer

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Introduction to Computer อ.วิรยา สีขาว
  2. Computer คอมพิวเตอร์คืออะไร
  3. Computer ความหมายและความเป็นมา ความหมายและความเป็นมา
  4. คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ซึ่งประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่รับข้อมูลหรือชุดคำสั่ง(Program) แล้วทำการประมวลผล (Process) ข้อมูลตามชุดคำสั่งจนได้ผลลัพธ์ (Output) แล้วแสดงผลออกมาตามที่ผู้ใช้ต้องการได้
  5. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์
  6. ประเภทคอมพิวเตอร์
  7. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะของการจัดกระทำข้อมูล อนาลอกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer) ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer) ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer)
  8. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะของการจัดกระทำข้อมูล คอมพิวเตอร์ที่ใช้ทำงานโดยหลักการวัด ใช้ค่าทางฟิสิกส์หรือค่าทางคณิตศาสตร์รับข้อมูล ใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าเป็นหลักในการคำนวณ ประมวลผลข้อมูลในแบบต่อเนื่องกัน เช่น ค่าความเร็ว ความดัน อุณหภูมิ และเครื่องตรวจเช็คร่างกาย Analog Computer
  9. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะของการจัดกระทำข้อมูล คอมพิวเตอร์ที่ใช้ทำงานโดยหลักการนับจำนวนโดยตรงเช่น 10,20,30..100 เก็บข้อมูลเป็นตัวเลขฐานสอง คือ เลข 1 และ เลข 0 และทำการประมวลผลออกมา สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ตลอดเวลา ผลลัพธ์ที่ได้จะมีความถูกต้องแม่นยำสูง Digital Computer
  10. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะของการจัดกระทำข้อมูล คอมพิวเตอร์ที่รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกคอมพิวเตอร์และดิจิตอล คอมพิวเตอร์ไว้ด้วยกัน สามารถรับข้อมูลได้ทั้งสองระบบทั้งค่าต่อเนื่องและการนับ มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง This is the older and firstPDP-10 model, a KA10 hybrid computer Analog and digital computer: a computer employing both analog and digital techniques Hybrid Computer
  11. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามสมรรถนะ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
  12. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามสมรรถนะ มีประสิทธิภาพสูงมีหน่วยความจำมากสามารถประมวลผลได้รวดเร็ว มีหน่วยความจำสำรองมาก มีความเร็วประมาณ 100 MIPS (Million Instruction Per Second) หรือ 100 ล้านคำสั่งต่อวินาที ใช้ในหน่วยงานขนาดใหญ่ เช่น งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์, งานด้านอุตุนิยมวิทยา At the William R. Wiley Environmental Molecular Sciences Laboratory, the Linux-based supercomputer is composed of nearly 2,000 processors. http://picturethis.pnl.gov/picturet.nsf/f/uv?open&AMER-5MLVRP Super computer
  13. รูปเครื่อง Super Computer ซึ่งมีประสิทธิภาพสูง และขนาดใหญ่
  14. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามสมรรถนะ มีประสิทธิภาพสูงมีหน่วยความจำมาก สามารถใช้พร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์หรือผู้ใช้อื่น ๆ ได้หลายคน (Multi User) มีความเร็วประมาณ 20 MIPS ใช้ในหน่วยงานขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร ,สายการบิน ฯลฯ IBM System/360 Mainframe Computer http://images.encarta.msn.com/xrefmedia/sharemed/targets/images/pho/t373/T373925A.jpg Mainframe Computer
  15. เครื่อง Mainframe Computer
  16. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามสมรรถนะ มีหน่วยความจำน้อย มีหน่วยความจำสำรองน้อยกว่า มีความเร็วในการทำงานประมาณ 1 MIPS มีการทำงานระบบ Multi User หรือผู้ใช้สามารถใช้เครื่องพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน ใช้ในงานด้านรับส่งข้อมูล หรืองานเครือข่ายในองค์กร mini computer, first 32 bit http://research.microsoft.com/users/GBell/Digital/timeline/1982-1.htm Mini computer
  17. Mini Computer
  18. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามสมรรถนะ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือ Personal Computer มีขนาดเล็กและราคาถูก ปัจจุบันมีประสิทธิภาพสูงขึ้น Microcomputer
  19. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ส่วนตัวแบบ PC (Personal Computer)
  20. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ส่วนตัวแบบ MAC (Macintosh)
  21. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์คิดเงินหน้าร้าน (POS)
  22. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์พกพา (Notebook) คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook) คอมพิวเตอร์มือถือ (PDA) สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
  23. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook) คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค สามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภท ดังนี้ Desktop Replacementเป็นโน้ตบุ๊คที่มีขนาดใหญ่ และมีความสามารถครบเทียบเคียงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล Mainstream เป็นโน้ตบุ๊คขนาดกลางที่ออกแบบมาให้มีขนาดกะทัดรัด ไม่เล็กไม่ใหญ่เกินไป และยังมีคุณสมบัติต่างๆ ที่จำเป็นไว้ครบถ้วน Ultra Portable เป็นโน้ตบุ๊คที่เน้นความบางเป็นพิเศษ เน้นความหรูหราและการออกแบบที่สวยงาม คุณสมบัติจะใกล้เคียงกับแบบเมนสตรีมแต่จะมีความบางเบากว่า และราคาสูงกว่า Tablet PC ลักษณะเด่นคือสามารถใช้อุปกรณ์ชี้ที่คล้ายปากกาเรียกว่าสไตลัส (Stylus) จิ้มลงบนหน้าจอเพื่อสั่งคำสั่งได้โดยตรง
  24. Network Computer (NC) / Thin Client
  25. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก (PDA : Personal Digital Assistance)
  26. Tablet PC
  27. Personal Digital Assistant (PDA) Palm Pocket PC
  28. A History of Computer ที่มาโดย ผศ.ดร.สันติ วิจักขณาลัญฉ์ Subject ID: 200101
  29. ในระยะ 5,000 ปีที่ผ่านมา มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้นิ้วมือและนิ้วเท้าของตนเพื่อช่วยในการคำนวณ และพัฒนา มาใช้อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ลูกหิน ใช้เชือกร้อยลูกหินคล้ายลูกคิด
  30. ต่อมาประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการ คำนวณขึ้นมาชนิดหนึ่ง เรียกว่า ลูกคิด ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุปกรณ์ใช้ช่วยการคำนวณที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและคงยังใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
  31. สร้างเครื่องหาผลต่าง Difference Engine เครื่องวิเคราะห์ Analytical Engine ประกอบด้วย ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนประมวลผล ส่วนควบคุม ส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ บิดาของเครื่องคอมพิวเตอร์ Chales Babbage พ.ศ. 2373
  32. เครื่องคำนวณในยุคประวัติศาสตร์ เครื่องคำนวณในยุคประวัติศาสตร์ ในช่วง500ปีก่อนคริสต์ศักราช ชาวจีนได้สร้างเครื่องช่วยนับ คือ ลูกคิด (The Abacus )
  33. ไม้บรรทัดคำนวณ Napier's Bones เป็นเครื่องมือมีลักษณะเป็นแท่งเหล็ก สามารถคำนวณการคูณตัวเลข 2 จำนวนได้อย่างรวดเร็ว
  34. ไม้บรรทัดคำนวณ(Slide rule)
  35. นาฬิกาคำนวณ (Calculating Clock)
  36. เครื่องคำนวณฟันเฟือง แบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal)ประดิษฐ์เครื่องมือสำหรับการคำนวณ เป็นวงล้อฟันเฟืองเชื่อมต่อกัน
  37. เครื่องคำนวณของปาสกาล (Pascal's Pascaline Calculator)
  38. เครื่อง Leibniz Calculator กอตฟริด ไลน์นิช (Gottfried Leibniz) ได้สร้างอุปกรณ์คำนวณได้หลายแบบได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร อย่างรวดเร็ว
  39. เครื่องคำนวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel)
  40. เครื่องผลต่างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine)
  41. เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจ (Babbage's Analytical Engine)
  42. ABC เครื่องคำนวณขนาดเล็กที่ใช้หลอดสุญญากาศ
  43. Mark I เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็ม
  44. ENIAC เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก
  45. EDVAC หรือ Electronics Discrete Variable Automatic Computer
  46. UNIVAC เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ในงานธุรกิจเครื่องแรกของโลก
  47. เครื่องเจาะบัตร (Punched Card Machine)
  48. "บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์" "บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์" การสร้างเครื่องคำนวณที่ซับซ้อนนี้เป็น แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาคอมพิวเตอร์ ในยุคต่อมา จึงยกย่องให้ ชาร์ล แบบเบจ เป็น บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์
  49. ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์
  50. ปี พ.ศ.2363 ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) สร้างเครื่อง "Difference Engine" มีลักษณะการทำงานที่ - สามารถรับข้อมูล - เก็บจำนวนตัวเลขขณะทำการประมวลผล คำนวณ จำนวนตัวเลขได้ - ควบคุมลำดับการคำนวณได้ - พิมพ์ผลลัพธ์ออกมาได้
  51. Analytical engine
  52. ปี พ.ศ. 2439 เฮอร์แมน ฮอลเลอร์ริธ(Herman Hollerith) ได้พัฒนาเครื่องมือช่วยประมวลผลข้อมูลในการสำรวจ สำมะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา เรียกเครื่องนี้ว่า Tabulating Machine การประมวลผลเก็บข้อมูล ไว้บนบัตรชนิด 80 คอลัมน์ เรียกว่า Hollerith Card นี้ต่อมาบริษัท IBM ได้นำมาพัฒนาเป็นบัตรเจาะรูที่ เรียกว่า IBM Card
  53. เครื่องอ่านบัตรเจาะรูMark I paper tape readers
  54. ปี พ.ศ.2487 โฮวาร์ด ไอเคน (Howard Aiken) แห่ง Harward University เสนอเครื่องคำนวณที่ ได้สร้างขึ้นมีความสามารถในการบวก ลบ ควบคุมการ ทำงานโดยคำสั่งที่เก็บไว้ในเทปกระดาษ โดยมีบริษัท IBM สนับสนุนโครงการนี้ เครื่องจักรนี้เรียกว่า "Mark I"
  55. เครื่อง Mark I
  56. ยุคของคอมพิวเตอร์ ยุคหลอดสุญญากาศ ยุคทรานซิสเตอร์ ยุคแผงวงจร IC ยุควีแอลเอสไอ คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย
  57. 1. คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสูญญากาศ ใช้หลอดสุญญากาศเป็นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ มากกว่า 18,000 หลอด ต้องใช้กระแสไฟฟ้ามาก เผาไส้หลอด ให้เกิดประจุอิเล็กตรอน จอห์น แอกเคิร์ท และ จอห์น มอชลี ชาวอเมริกา สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ ENIAC (Electronic NumericalIntegrator and alculator) น้ำหนักมากกว่า 30 ตัน ติดตั้งในห้องขนาด 20x40 ตารางฟุตใช้กำลังไฟฟ้า 100 กิโลวัตต์ทำงานได้เร็วกว่าเครื่อง MARK I ถึง 1,000 เท่า
  58. หลอดสุญญากาศ สร้างด้วย หลอดสุญญากาศ (vacuum tubes) หน่วยความจำสร้างจากดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) ใช้ บัตรเจาะรู (punch card) ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรม คำสั่งหรือโปรแกรมสร้างด้วยภาษาเครื่อง (machine language) คอมพิวเตอร์ยังทำงานช้า เกิดข้อผิดพลาดได้สูง และราคาแพง ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ในยุคแรก ได้แก่ UNIVAC (Universal Automatic Computer)
  59. หลอดสุญญากาศ
  60. เครื่องอินิแอค(ENIAC)
  61. เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรก : อินิแอค
  62. เครื่องที่ใช้หลอดสุญญากาศ เครื่องที่ใช้หลอดสุญญากาศ UNIVAC Mark I
  63. UNIVAC I
  64. EDVAC
  65. 2. ยุคทรานซิสเตอร์ 2500 - 2507 นักวิทยาศาสตร์ ของห้องปฏิบัติการเบล ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ ขึ้นใช้แทนหลอดสุญญากาศ บริษัท IBM ได้ผลิตเครื่องเมนเฟรม ที่เป็นรากฐานของการพัฒนาเครื่องในปัจจุบัน
  66. คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ มีความเร็วและความถูกต้องแม่นยำสูง ใกว่าการใช้ หลอดสุญญากาศ มีขนาดเล็กเป็น 1/200 ของหลอดสุญญากาศ มีความร้อน น้อยกว่า กินไฟน้อยกว่า IBM ได้พัฒนาเมนเฟรม หน่วยงาน และองค์กรต่าง ในปี พ.ศ. 2507 จุฬาลงกรณ์ และสำนักงานสถิติแห่งชาตินำมาใช้ทำสำมะโนประชากร
  67. ทรานซิสเตอร์
  68. เครื่องคอมพิวเตอร์ ของบริษัท IBM
  69. System /370 Model 145
  70. เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM 1620 คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของไทย ติดตั้งอยู่ที่ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ.2506
  71. 3. ยุควงจรรวม ไอซี 2508 - 2512 ใช้วงจรรวมที่เรียกว่า Integrated Circuit : IC วงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ จำนวนมากบนแผ่น Chip ทำจาก silicon ใช้ภาษาระดับสูง เช่น BASIC สามารถคิดคำนวณได้หลายล้านครั้ง ต่อนาที มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ ที่มีหัวอ่านสำหรับเข้าถึงข้อมูล เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง มีการผลิตมากขึ้น
  72. แผงวงจรบนแผ่นซิลิกอน (IC)
  73. Altair เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ อุปกรณ์ IC เป็นเครื่องแรกราคา395$ การใช้โปรแกรมมีสวิตซ์เปิดปิดด้านหน้า
  74. 4. ยุควีแอลเอสไอ 2513 -2532 VLSI (Very Large Scale Integration) ที่สร้าง transistor จำนวนหลายล้านตัวลงบน Chip เพียงตัวเดียว ความเร็วใน การทำงานมีหน่วยเป็น Nanosecond (1/1,000,000,000 วินาที)
  75. ลักษณะของเครื่องในยุคนี้ ลักษณะของเครื่องในยุคนี้ หน่วยประมวลผลใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก เช่น โน้ตบุ๊ก ปาล์มท็อป คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอทพิวเตอร์มีราคาถูกเป็นที่แพร่หลาย มีโปรแกรมที่ใช้งานง่าย เช่นโปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก เป็นต้น
  76. VLSI
  77. 5. คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ใช้ Microprocessor ความเร็วสูงมาก ๆ เป็นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สร้างคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูง ทำงานเร็ว สามารถทำงานพร้อมกันได้ มีการเชื่อมโยงเครือข่ายทำงานเป็นกลุ่ม โดยใช้เครือข่ายท้องถิ่น (LAN) และเครือข่ายสากล (Internet)
  78. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 3 ส่วน ดังนี้ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware) ข้อมูล สารสนเทศ ( Data / Information ) กระบวนการทำงาน ( Procedure )
  79. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 5 ส่วน ดังนี้ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware) ข้อมูล สารสนเทศ ( Data / Information ) กระบวนการทำงาน ( Procedure )
  80. Hardware ส่วนที่จับต้องได้ Hardware คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุกๆ ชิ้น ที่เราสามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ เช่น ซีพียู เมนบอร์ด แรม จอภาพ และอื่นๆ
  81. Software ส่วนที่จับต้องไม่ได้ Software คือเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานซอฟต์แวร์จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สั่งการหรือระบุความต้องการสารสนเทศ Software แบ่งเป็น 2 ประเภท ซอร์ฟแวร์ระบบ ( System Software or Operating System) ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ ( Application Software )
  82. ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน โปรแกรมอรรถประโยชน์ ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป โปรแกรมแปลภาษา ซอฟต์แวร์ (Software)
  83. Peopleware People ware คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ทำงานกับคอมพิวเตอร์ รวมถึงช่างคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ
  84. บุคลากร (People ware) หมายถึง บุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ จำแนกได้ดังนี้ ผู้ใช้ (Users) พนักงานควบคุมคอมพิวเตอร์ (Computer Operators) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysts and Designers) ผู้ดูแลฐานข้อมูล (Database Administrators) หัวหน้าศูนย์คอมพิวเตอร์ (Director of MIS)
  85. บุคลากร (People ware) Peopleware
  86. กระบวนการทำงาน ( Procedure ) องค์ประกอบนี้หมายถึง กระบวนการทางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ในการทางานกับคอมพิวเตอร์ผู้ใช้จาเป็นต้องทราบขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้งานที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจจะมีขั้นตอนสลับซับซ้อนหลายขั้นตอน ดังนั้นจึงมีความจาเป็นต้องมีคู่มือปฏิบัติงาน เช่น คู่มือผู้ใช้(User manual) หรือ คู่มือดูแลระบบ (Operation manual) เพื่อช่วยในการทางาน
  87. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ InputUnit ProcessingUnit OutputUnit
  88. INPUT OUTPUT PROCESSING STORAGE วงจรการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ วงจรการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผล แสดงผล รับข้อมูล เก็บข้อมูล
  89. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) คือส่วนที่นำข้อมูลเข้ามาหรือส่วนที่ใช้สำหรับสั่งคอมพิวเตอร์ให้ทำงานเช่น คีย์บอร์ด เมาส์, จอภาพสัมผัส (Touch Screen) เป็นต้น
  90. หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit) มีหน้าที่นำข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลมาแสดง ตัวอย่างเช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
  91. Secondary Memory Main Memory CPU Output Devices Input Devices Computer Components HD
  92. ส่วนประกอบของHardware Input System Unit Output Keyboard Mouse Joystick Trackball Touch Screen Barcode Reader Magnetic Stripes Scanners Digital/Video Camera Microphone Digitizer tablet & crosshair Monitor Printer - DotMatrix - Ink-Jet - Laser Plotter Speaker Projector CPU Control Unit Arithmetic-Logic Main Memory ROM RAM Secondary storage - Floppy disk & drive - Harddisk - CD-ROM - DVD-ROM - Tape
  93. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ใช้ในการคำนวณและสั่งให้ส่วนอื่นๆ ทำงาน หน่วยประมวลผลกลางมีองค์ประกอบดังนี้ หน่วยควบคุม (Control Unit)ทำหน้าที่ ควบคุมการทำงานของหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลลัพธ์ (I/O Control) หน่วยคำนวณและเปรียบเทียบ (Arithmetic and Logic Unit) ทำหน้าที่รับข้อมูลจากหน่วยความจำมาทำการคำนวณ (+,-,X,/) หรือทำการเปรียบเทียบ (And or Not) และนำผลที่ได้จากการคำนวณไปเก็บไว้ชั่วคราวที่รีจิสเตอร์ (Register)
  94. Mouse Keyboard Joystick Scanner Web Cam หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
  95. หน่วยความจำ (Memory) ส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมีอยู่ 2 แบบ คือ หน่วยความจำหลัก (Primary Memory) เป็นหน่วยความจำมีที่ มีความเร็วสูงแต่ต้องการไฟเลี้ยงซึ่งรู้จักในชื่อของ แรม (RAM) หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory ) เป็นหน่วยความจำที่มีความเร็วต่ำเก็บข้อมูลได้มากแต่ไม่ต้องการไฟเลี้ยง เช่น ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
  96. หน่วยความจำ (Memory) แรม ฮาร์ดดิสก์
  97. จอภาพแสดงผล ปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ - CRT อาศัยลำแสงจากปืนอิเลคตรอน กระทบกับสารเรืองแสงบนจอภาพ สาร เรืองแสงจะเปล่งแสงออกมาให้เห็น - LCD อาศัยหลักการของฉากกั้นที่ฉาบ ด้วยของเหลวคริสตัลแล้วสะท้อนแสง ออกมากระทบจอภาพอีกครั้งทำให้แสง ที่ออกมานุ่มนวลกว่า ใช้กระแสไฟน้อยกว่า จอภาพ CRT จอภาพ LCD
  98. Typing Input Devices

  99. Ergonomic Keyboard
  100. Laser Keyboard
  101. CASE เคส
  102. Main Board แผงควบคุมระบบ
  103. ฮีตซิงค์
  104. Watercooled CPU
  105. Hard Disk
  106. VGA Card การ์ดแสดงผลจอภาพ
  107. Sound Card การ์ดเสียง
  108. Wireless LAN card
  109. Power Supply หม้อแปลงจ่ายไฟ
  110. LAN Card
  111. UPS เครื่องสำรองไฟฟ้า
  112. Speakersเป็น OutputDevice สำหรับเสียง
  113. DVD RW
  114. อินเทลพิสูจน์กฎของมัวร์อีกครั้งด้วยความล้ำหน้าของทรานซิสเตอร์ พร้อมเพิ่มประสิทธิภาพการประมวลผลให้สูงขึ้น ด้วยการผลิตแบบ 45 นาโนเมตร (หนึ่งนาโนเมตรเท่ากับหนึ่งในพันล้านของหนึ่งเมตร) ช่วยให้ความหนาแน่นของทรานซิสเตอร์เพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าเมื่อเทียบกับชิปรุ่นก่อนหน้านี้ที่ใช้ขั้นตอนการผลิตแบบ 65 นาโนเมตรของอินเทล ดังนั้นโปรเซสเซอร์แบบคว๊อดคอร์ซึ่งใช้สูตรการผลิตแบบใหม่จะมีทรานซิสเตอร์สูงขึ้นได้จนถึง 820 ล้านชิ้น
  115. Workstation Computer
  116. ซอฟต์แวร์ (ตามการใช้งาน) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application S/W) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) การสร้าง S/W จะต้องใช้สิ่งที่เรียกว่า “ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม” (Programming Language) เช่นภาษา Pascal, C, COBOL, etc.
  117. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application S/W) คือโปรแกรม หรือ ชุดคำสั่งที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองงานเฉพาะด้าน หรือให้สามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ใด วัตถุประสงค์หนึ่ง
  118. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) โปรแกรมสำเร็จรูป (Packaging S/W หรือ Canned Program)เพื่อตอบสนองความต้องการทั่วไป (Horizontal Market S/W) เช่น Microsoft Office โปรแกรมที่เขียนขึ้นเอง(Custom Program)เพื่อตอบสนองกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง (Vertical Market S/W) เช่น ซอฟต์แวร์ด้านการแพทย์
  119. ข้อดีของโปรแกรมสำเร็จรูป (Advantages of Using Packaging Software) ประหยัดเวลาในการเขียนโปรแกรม สามารถใช้ได้ทันที ผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐาน มีคนรู้จักมาก ความช่วยเหลือหาง่าย
  120. ข้อเสียของโปรแกรมสำเร็จรูป (Disadvantages of Using Packaging Software) ไม่ตรงกับความต้องการเพราะถูกเขียนขึ้นกลางๆ
  121. โปรแกรมที่เขียนขึ้นเอง(Custom Program) ให้หน่วยงานภายในจัดการ (In-house) ว่าจ้างบริษัทภายนอก (Outsource)
  122. ข้อดีของการให้หน่วยงานภายในจัดการ (Advantages of Using In-House) ตอบสนองความต้องการที่อาจต่างออกไป ความลับไม่รั่วไหลไปภายนอกองค์กร กรณีที่มีผู้เชี่ยวชาญอยู่แล้ว เสียค่าใช้จ่ายต่ำ เพราะไม่ต้องหาเพิ่ม
  123. ข้อเสียของหน่วยงานภายใน (Disadvantages of Using In-House) อาจต้องหาคนเพิ่ม/โยกย้ายตำแหน่งงาน ใช้เวลาในการพัฒนานาน และอาจยืดเยื้อ โปรแกรม/เอกสาร อาจไม่ได้มาตรฐาน
  124. ข้อดีของหน่วยงานภายนอก (Advantages of Using Outsource) ตอบสนองความต้องการที่อาจต่างออกไป ตรงตามกำหนดเวลา ได้มาตรฐาน
  125. ข้อเสียของหน่วยงานภายนอก (Disadvantages of Using Outsource) ใช้เวลาในการพัฒนานาน ความลับอาจรั่วไหลไปภายนอกองค์กร ค่าใช้จ่ายสูงมาก
  126. โปรแกรมอรรถประโยชน์ อำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้นและทำให้การใช้คอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างโปรแกรม เช่น Norton Utility ,โปรแกรมเอดิเตอร์ (Editor)
  127. ประ เภทของซอฟต์แวร์ หน้าจอของโปรแกรมประยุกต์ เว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์ การแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์แบ่งออกได้เป็นหลายๆ แบบ อาทิเช่น 1. การแบ่งเชิงเทคนิค อาจแบ่งซอฟต์แวร์เป็น 3 ประเภทหลักๆ คือ * ซอฟต์แวร์ระบบ (System/Infrastructure software)ใช้ในการให้คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยรวมถึงระบบปฏิบัติการ ไดรเวอร์ และระบบหลักของคอมพิวเตอร์ต่างๆ * โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถดำเนินงานต่างๆ โดยทั่วไปเช่นโปรแกรมสำนักงาน ฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์เกม เว็บเบราว์เซอร์ โดยโปรแกรมประยุกต์จะมีจียูไอ * โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Tools/Utilities) ประกอบไปด้วยเครื่องมือช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมอื่นๆ หรือโปรแกรมประยุกต์ได้ เครื่องมือต่างๆประกอบไปด้วย คอมไพเลอร์ อินเตอร์พรีเตอร์ ดีบักเกอร์
  128. 2.การแบ่งตามรูปแบบการส่งมอบ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ * ซอฟต์แวร์สำเร็จ รูป (Package software) ซอฟต์แวร์ที่มีการขาย ให้เช่า หรือให้บริการ โดย คิดค่าบริการเป็น transaction หรือ license * ซอฟต์แวร์ ที่พัฒนาตามคำสั่งเฉพาะทาง(Outsources software development) เป็นการออกแบบและพัฒนา ซอฟต์แวร์ เพื่อใช้งานเฉพาะกับงานประเภทต่างๆ เฉพาะกิจกรรมๆ ไป ส่วนใหญ่ลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์นี้จะเป็นของผู้ที่ว่าจ้างให้พัฒนาขึ้น
  129. 3. การแบ่งตามประเภทของการนำไปใช้งานหลัก แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือ * ซอฟต์แวร์ ช่วยในการบริหารจัดการทั่วไป (Enterprise software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับการทำงานเพื่อแก้ปัญหา/จัดการทรัพยากรของ บุคคล/องค์กร เช่น ซอฟต์แวร์บัญชี ซอฟต์แวร์จัดทำเอกสาร เป็นต้น * ซอฟต์แวร์ สำหรับอุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก (Mobile applications software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานผ่านระบบปฏิบัติการพิเศษบนอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์มือถือ PDA โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ (1) ซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนธุรกรรมทางธุรกิจ (Business applications) เช่น Mobile banking, Mobile payment, GPS on Mobile, Mobile applications for business process management และ(2) ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการและบันเทิง (Entertainment applications) ซึ่งรวมเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ * ซอฟต์แวร์สมอง กลฝังตัว (Embedded System Software) เป็นซอฟต์แวร์ซึ่งฝังอยู่ไว้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เพื่อใช้สำหรับควบคุมการทำงานของอุปกรณ์นั้นๆ เช่น ระบบ GPRS ระบบทำความเย็นอัจฉริยะ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ เป็นต้น
  130. ฟรีแวร์ (freeware) หมายถึงซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นและสามารถนำไปใช้ได้ในทุกจุด ประสงค์โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย (เช่นราคาขายหรือค่าลิขสิทธิ์) ฟรีแวร์เป็นลักษณะก้ำกึ่งระหว่างซอฟต์แวร์พาณิชย์และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ คืออนุญาตให้กลุ่มผู้พัฒนามีส่วนร่วมในการสร้างซอฟต์แวร์ แต่ก็ไม่เผยแพร่รหัสต้นฉบับสู่สาธารณชนเพื่อรักษาความลับทางการค้า ฟรีแวร์นั้นคล้ายกับแชร์แวร์ (shareware) คือสามารถใช้ได้ทุกจุดประสงค์เหมือนกัน แต่แชร์แวร์อาจมีระยะเวลาทดลองใช้และต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเพื่อต่ออายุ หรือเปิดฟังก์ชันการใช้งานที่สมบูรณ์ และฟรีแวร์ต่างจากซอฟต์แวร์เสรี (free software) คือ ซอฟต์แวร์เสรีอนุญาตให้เปิดเผยรหัสต้นฉบับและอนุญาตให้ผู้อื่นนำไปพัฒนาต่อ ได้ ในขณะที่ฟรีแวร์ไม่อนุญาต
  131. ซอฟต์แวร์ (Software) ประเภทซอฟต์แวร์ (SOFTWARETYPE) Freeware Shareware Demo Trialware Update & Patch Driver Crack
  132. โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบ ใช้ได้เสรี (Freeware Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาธารณะ (Public Domain Software) และโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบรหัสเปิด (Open-source Software)
  133. Driver เป็นชอฟต์แวร์ที่ใช้ควบคุณการทำงานของ hardware ซึ่ง มักจะให้มากับ hardware นั้น เราควรจะอัพเดท driver ให้ทันสมัยอยู่เสมอ Crack เนื่องจากโปรแกรมประเภทแชร์แวร์มีข้อจำกัดอาจจะให้ลอง ใช้เป็นจำนวนวันที่จำกัด เมื่อ ครบวันที่กำหนดไว้แล้วจะต้องไปซื้อโปรแกรมตัวเต็มมาใช้หรือชำระเงินเพื่อให้ แชร์แวร์นั้นสามารถ ใช้งานได้ต่อด้วยเหตุนี้จึงมีโปรแกรมเมอร์มือดีเจาะเข้าไปในโปรแกรมนั้นๆเพื่อ หาวิธีทางที่จะให้โปรแกรมนั้นสามารถใช้ได้ต่อไปไม่มีหมดอายุด้วย เหตุนี้เองจึงเกิด Crack ขึ้น Crack เป็นโปรแกรมผิดกฏหมายที่ทำให้บรรดาเจ้า ของลิขสิทธิ์ต้องสูญเสียรายได้ที่ควรจะได้จึง ไม่แปลกใจเลยที่ว่าเว็บไซต์ที่มี Crack ให้เราดาวน์โหลดนั้นจะต้องมีอันย้าย ที่อยู่อยู่เป็นประจำ Trialware จะมีลักษณะของเดโมแวร์และแชร์แวร์ผสมอยู่ คือ ชอฟต์แวร์จะสามารถทำงานได้แต่ไม่ครบทุกฟีเจอร์หรือทำงานได้แต่ถูกจำกัดจำนวน วันที่สามารถใช้ได้ เมื่อ คุณชื่นชอบโปรแกรมนั้นๆคุณก็ต้องไปซื้อเวอร์ชั่นตัวเต็มมาใช้ ไม่ สามารถส่งเงินไปส่งทะเบียนได้ Demo เป็นชอฟต์แวร์ที่ทำออกมาในเวอร์ชั่นพิเศษ ส่วน ใหญ่จะไม่สามารถทำอะไรได้มากนัก ถ้า เป็นเกมบางทีก็ไม่สามารถเล่นได้แต่คุณจะได้เห็นลักษณะของเกมนั้นๆ Update & Patch เป็นโปรมที่ใช้แก้บักต่างที่มีอยู่ในโปรแกรม เมื่อ ได้ติดตั้งลงไปแล้วจะทำให้โปรมแกรมนั้นทำงานได้ดีขึ้น
  134. โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาธารณะ (Public Domain Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาธารณะ หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เจ้าของลิขสิทธิ์ได้สละลิขสิทธิ์ เพื่อเป็นประโยชน์แก่สาธารณชน หรือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่หมดอายุการคุ้มครอง ซึ่งสาธารณชนสามารถใช้ได้อย่างไม่มีข้อจำกัด
  135. Adware หรือ Advertisementware หมายถึง ซอฟต์แวร์ ซึ่งถูกโฆษณาผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ ในขณะที่ผู้ใช้กำลังใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ (Pops Up) ทั้งนี้การโฆษณาที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้ใช้ใส่คำค้นหา (key word) ลงในโปรแกรมค้นหา (Search engine) และเกิดจากการพิมพ์ชื่อเข้าเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการค้นหา
  136. Spyware, Parasite software, Scumware, Junkwareหรือ Thiefware หมายถึง ซอฟต์แวร์ซึ่งถูกติดตั้ง (install) ลงในเครื่องโดยอัตโนมัติ โดยปราศจากความยินยอมของผู้ใช้และไม่มีการแจ้งผู้ใช้ว่าได้มีการติดตั้งซอฟต์แวร์ชนิดนี้ลงในเครื่องของผู้ใช้แล้วซอฟต์แวร์นี้จะทำการเก็บข้อมูลเว็บไซต์ต่างๆ ที่ผู้ใช้มักจะเข้าเยี่ยมชม ซึ่งซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะใช้เพื่อธุรกิจการค้าต่างๆ เช่น เมื่อผู้ใช้ค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์ A และ B เพื่อหาซื้อโทรทัศน์ spyware ก็จะทำหน้าที่ส่งโฆษณาขายโทรทัศน์ของบริษัทคู่แข่ง ผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ทันที ในขณะที่ผู้ใช้กำลังใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ (Pops Up)
  137. Software 2 Application Microsoft Office 2003 and Other Microsoft Word Microsoft Excel Microsoft Power Point Microsoft Access Other program
  138. โปรแกรมแปลภาษา ทำหน้าที่แปลความหมายของคำสั่งที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการสามารถแยกได้ 3 ประเภทคือ Compiler Interpreter Assembler
  139. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป
  140. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
  141. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใช้ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น UNIX, Microsoft Windows XP, OS/2 , LINUX
  142. Mac OS X Macintosh Operating System
  143. ระบบปฏิบัติการ Windows 95
  144. ระบบปฏิบัติการ Windows 98 ระบบปฏิบัติการ Windows Me
  145. ระบบปฏิบัติการ Windows NT
  146. ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 ระบบปฏิบัติการ Windows 2003
  147. ระบบปฏิบัติการ Windows XP
  148. ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ (Linux)
  149. แมคอินทอชโอเอส (Macintosh Operating System)
  150. รายชื่อระบบปฏิบัติการต่างๆ รายชื่อระบบปฏิบัติการต่างๆ 16. NetWare 17. MorphOS 18. Zaurus 19. VMS 20. EPOC 21. Solaris 22. IRIX 23. Darwin 24. HPUX 25. UNICOS 26. MINIX 27. AIX 28. Chrome OS 29. IOS 1. CP/M 2. MP/M 3. TRS-DOS 4. ProDOS 5. DOS 6. Microsoft Windows 7. Linux 8. Unix 9. Mac OS 10. FreeBSD 11. OS/2 12. RISC OS 13. BeOS 14. Amiga 15. Plan9
  151. ระบบปฏิบัติการ DOS ดอส (DOS; ย่อมากจาก Disk Operating System) เป็นชื่อเรียกระบบปฏิบัติการ หลายตัวที่พัฒนาโดยไอบีเอ็มและไมโครซอฟท์ ในช่วงปี พ.ศ. 2524-พ.ศ. 2538 (โดยถ้ารวมดอสในวินโดวส์ จะนับถึงปี พ.ศ. 2543) ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการนี้เช่น PC-DOS, MS-DOS, FreeDOS, DR-DOS, Novell-DOS, OpenDOS, PTS-DOS, ROM-DOS เนื่องจากดอสมีผู้ผลิตหลายเจ้า เช่น PC-DOS จากไอบีเอ็ม และ MS-DOS จากไมโครซอฟท์ เป็นต้น และดอสอื่นๆ ระบบปฏิบัติการดอสส่วนมากทำงานภายใต้เครื่องไอบีเอ็มพีซีเสมือน ที่ใช้ซีพียู อินเทลx86
  152. Rajavithi Word PC ราชวิถีเวิร์ดพีซี (อังกฤษ: Rajavithi Word PC) หรือเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ราชวิถีเวิร์ด, เวิร์ด ราชวิถี หรือ RW เป็นโปรแกรมประมวลคำสัญชาติไทย ทำงานบนเอ็มเอสดอสในยุคก่อนที่จะมีวินโดวส์ 95 สร้างขึ้นโดยชมรมไมโครคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลราชวิถี นำโดยนายแพทย์ชุษณะ มะกรสาร เมื่อ พ.ศ. 2529 พัฒนาอย่างต่อเนื่องจนถึง พ.ศ. 2536 จึงยุติการพัฒนา รุ่นล่าสุดอยู่ที่รุ่น 2.4 โปรแกรมนี้มีการนำมาใช้สอนเป็นหลักสูตรวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นในสถานศึกษา ด้วย
  153. ผู้ออกแบบ นายแพทย์ชุษณะ มะกรสาร ผู้พัฒนา โรงพยาบาลราชวิถี วันที่เปิดตัว เมษายน พ.ศ. 2529 รุ่นเสถียร 2.4 / สิงหาคม พ.ศ. 2536 เขียนด้วย ภาษาแอสเซมบลี ระบบปฏิบัติการ เอ็มเอสดอส แพลตฟอร์ม IBM PC compatible ขนาดไฟล์ รวม 401 กิโลไบต์ ภาษาสื่อสาร ภาษาไทย สถานะ ยุติการพัฒนา ชนิด โปรแกรมประมวลคำ ลิขสิทธิ์ สาธารณสมบัติ เว็บไซต์ Mirror at mahamodo.com
  154. Software 1 OS Windows 2003 Windows XP Windows 2000 Windows NT Windows 98
  155. ซอฟต์แวร์ระบบ
  156. ลักษณะของระบบปฏิบัติการ ลักษณะของระบบปฏิบัติการ การบูทระบบ (Booting) ถือเป็นการเริ่มต้นการทำงานของคอมพิวเตอร์ วอร์มบูท (warm boot) โคลด์บูท (cold boot)
  157. ประเภทของระบบปฏิบัติการ ประเภทของระบบปฏิบัติการ แบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่ ระบบปฏิบัติการแบบฝังตัว – ใช้ในคอมพิวเตอร์แบบมือถือ ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย – ใช้ควบคุมและประสานการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการแบบสแตนอโลน – ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หรือโน้ตบุ๊ก
  158. ความหมาย Program : ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นมาเรียงเป็นลำดับขั้นตอน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่งนั้น Software : ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานใดๆ ได้ ภายใน Software จะประกอบไปด้วยโปรแกรมหลายโปรแกรม Application: Software ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะด้านซึ่งภายใน Application หนึ่งๆอาจประกอบด้วย Software หลายชุดประสานการทำงานเข้าด้วยกัน
  159. Programming Language ภาษาในยุคที่ 1 (First Generation Language: 1GL) - คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจได้ทันทีเรียกว่า “ภาษาเครื่อง (Machine Language)” เป็นเลขฐาน 2(Binary Code คือ 0,1) เช่น ASCII ภาษาในยุคที่ 2 (Second Generation Language: 2GL) - หรือเรียกว่า “ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)” เขียนคำสั่งสั้นลง - Assembly เช่น A แทนคำสั่ง Add ภาษาในยุคที่ 3 (Third Generation Language: 3GL) - BASIC, PASCAL, FORTRAN,COBOL, C, PL/1 และ Ada
  160. Programming Language ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language: 4GL) - PowerBuilder, FOCUS, NOMAD, RAMIS, SQL - Visual Programming : Visual Basic, Visual Basic.Net - Object-Oriented Programming : Simula, Smalltalk, C++, Visual C++, Java ภาษาในยุคที่ 5 (Fifth Generation Language: 5GL) - สำหรับพัฒนา Software เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System:ES) เรียกว่า “ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)”
  161. เปรียบเทียบการเขียนคำสั่ง “ให้นำ 2 บวกกับ 5 และนำผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ในตัวแปร Y” ของภาษาในยุคต่างๆ
  162. ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดของซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทำหน้าที่จัดการหรือควบคุมทรัพยากรต่างๆของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะรวมถึงการจัดสรรอุปกรณ์ Hardware, Program และข้อมูลต่างๆ เช่น OS จะจำแนกข้อมูลนำเข้าที่รับมาจาก Keyboard, Mouse จากนั้น จึงแสดงผลตามเงื่อนไขหรือคำสั่งเช่น แสดงผลทางจอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นต้น หรือสั่งให้จัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์จัดเก็บ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS)จะถูกพัฒนามาจากภาษา - ภาษา Assembly - ภาษา C และอื่นๆ
  163. ประเภทของ Software ผู้ใช้ (User) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ภาพที่ 1 แสดงลำดับการติดต่อระหว่างผู้ใช้ Software และ Hardware
  164. จากภาพที่ 1 จะพบว่าระหว่างผู้ใช้(User) และ Hardware ตรงกลางจะมี Software คอยจัดการ และควบคุมการทำงานของ Hardware ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้
  165. http://dusithost.dusit.ac.th/~librarian/it107/C4.htm
  166. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ จำแนกได้ 3 หน้าที่หลัก คือ จัดการกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ จัดเตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ดำเนินงานกับโปรแกรมประยุกต์
  167. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ จัดการกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ประสานงานกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ได้แก่ หน่วยความจำ หน่วยประมวลผล อุปกรณ์หน่วยเก็บรอง อุปกรณ์รับเข้า และอุปกรณ์ส่งออก ดูแลประสิทธิภาพของระบบ จัดเตรียมระบบความปลอดภัย เริ่มต้นการทำงานของคอมพิวเตอร์
  168. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ จัดเตรียมส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางตัวอักษร (Character-based interface) ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางรูปภาพ (Graphical user interface หรือ GUI)
  169. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ ดำเนินงานกับโปรแกรมประยุกต์ สนับสนุนการทำงานแบบมัลติทาสกิ้ง (Multitasking) โดยโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ในขณะนั้น จะดำเนินงานในลักษณะเบื้องหน้า (Foreground) ส่วนโปรแกรมอื่นๆ ที่กำลังดำเนินงานอยู่ แต่ว่าไม่ได้ใช้งานในขณะนั้น จะดำเนินงานในลักษณะเบื้องหลัง(background)
  170. UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่ใหญ่ สามารถใช้งานในลักษณะการทำงาน หลาย ๆ โปรแกรมพร้อมกัน (Multitasking) และเป็นแบบมัลติยูสเซอร์(Multi-User) เป็น OS สำหรับ เครื่องเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ลักษณะการติดต่อกับผู้ใช้เป็นทั้งแบบ Command-line และ GUI (Graphical User Interface)
  171. ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface, GUI อ่านว่า จียูไอ หรือ กูอี้) เป็นวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทางสัญลักษณ์หรือภาพนอกเหนือจากทางตัว อักษร จียูไอมีส่วนประกอบต่างๆ เช่น ไอคอน หน้าต่างการใช้งาน เมนู ปุ่มเลือก และการใช้เมาส์ หรือแม้แต่ในระบบทัชสกรีน จียูไอพัฒนาพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยที่สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ดนำโดย ดัก เอนเกลบาร์ต (Doug Engelbart) โดยการใช้งานร่วมกับไฮเปอร์ลิงก์และเมาส์ ซึ่งภายหลังได้นำมาวิจัยต่อที่ศูนย์วิจัย ซีร็อกซ์พาร์ค (Xerox PARC) โดยใช้งานระบบกราฟิกแทนที่ระบบตัวอักษร โดยบางคนจะเรียกระบบนี้ว่า PARC User Interface หรือ PUI ปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1970 แอปเปิลคอมพิวเตอร์ได้ นำมาใช้ครั้งกับเครื่องแมคอินทอช ซึ่งภายหลังทางไมโครซอฟท์ได้เลียนแบบความคิดมาใช้กับระบบปฏิบัติ การวินโดวส์ ในปัจจุบันจียูไอเป็นที่นิยมโดยสามารถเห็นได้จากระบบปฏิบัติการ แมคอินทอช และ วินโดวส์ และล่าสุดในลินุกซ์
  172. ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ที่ต้องพิมพ์ชุดคำสั่งที่ใช้ในระบบดอสหรือยูนิกซ์ ซึ่งเป็นส่วนต่อประสานผู้ใช้แบบข้อความ (Text user interface) ในบางครั้งจะเรียกว่า ส่วนต่อ ประสานแบบชุดคำสั่ง (Command Line Interfaces, CLI) บริษัทยักษ์ใหญ่บางบริษัทเริ่มเข้าจับตลาดทางด้านนี้แล้วเช่น Sun ก็มีในส่วนของ Java Desktop เป็นต้น โดยกล่าวถึงรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้แบบนี้ว่า Desktop ระบบของ GUI เช่นในส่วนของระบบปฏิบัติการวินโดว์จะเป็นในลักษณะถูกสร้างขึ้นมาให้เป็น ส่วนหนึ่งกับตัวระบบปฏิบัติการเลย โดยมีการเรียก ใช้ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางระบบ API โดยไปเรียกส่วนประมวณผลที่ชื่อว่า GDI และมีโหมดที่เป็นส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบชุดคำสั่ง แยกเป็นส่วนหนึ่งอีกต่างหากแต่ยังคงอยู่ภายใต้ระบบปฏิบัติการ (shell) ระบบ GUI ในส่วนของ Opensourceได้มีการจัดตั้งองค์การขึ้นมาเพื่อทำการกำหนดมาตรฐานกลางที่ใช้ในทำงานใน ส่วนการพัฒนาของ Desktop ร่วมกันเช่น การกำหนดมาตรฐานของเมนู, ลักษณะส่วนติดต่อย่อยอื่นๆ เป็นต้นโดยองค์นี้มีชื่อว่า freedesktop Desktop ที่ร่วมใช้มาตรฐานเดียวกันกับ freedesktopเช่น Gnome, KDE, XFCE เป็นต้น รวมถึงมีการพัฒนาลูกเล่นต่างๆ ออกไปมากมาย รวมถึงการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้นโดยลดการติดต่อระหว่าง ผู้ใช้และส่วนที่เป็นการประสานชุดคำสั่งลงให้มากที่สุด ในระบบปฏิบัติการใหม่ๆ ในปัจจุบันมีการรองรับการใช้งานทั้งแบบกราฟิกและแบบข้อความ โดยแสดงผลผ่านทางกราฟิกเป็นหลักสำหรับผู้ใช้ทั่วไป และต้องใช้คำสั่งพิเศษเพื่อเรียกใช้คำสั่งของการใช้ส่วนต่อประสานแบบข้อความ โดยแบ่งแยกออกเป็น โหมดการทำงานได้ด้วย
  173. Linux เป็น OS ที่คล้ายกับ UNIX แต่มีขนาดเล็กกว่าและทำงานได้เร็วกว่า เป็นซอฟต์แวร์ประเภท โอเพนซอร์ส(Open Source) ในช่วงแรกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้แจกจ่ายโดยไม่มีค่าใช้จ่ายแต่ปัจจุบันบาง Version จะต้องเสียค่าใช้จ่าย นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เช่น Desktop Computer และ Smart Phone http://www.school.net.th/library/snet1/software/linux/index.html http://www.mrpalm.com/getcontent3.php?tid=365
  174. Screenshot of Mac OS X v10.4 "Tiger" Company/developer: Apple Inc. Release date:April 29, 2005 Current version:10.4.9 (March 13, 2007) License:APSL and Apple EULA
  175. Mac OS X 10.5 (Leopard) http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B9%87%E0%B8%99#Mac_OS_X_10.5_.28Leopard.29
  176. Windows Vista
  177. http://en.wikipedia.org/wiki/Windows_7
  178. Windows CE ในกล้องถ่ายรูป หรือหัวจ่ายน้ำมันตามปั๊ม ใช้ Windows CE อย่างในภาพ http://pocketpcthai.blogspot.com/2008/01/windows-ce-windows-mobile.html http://www.mrpalm.com/getcontent3.php?tid=365
  179. Windows Mobile ช่วยให้อ่านอีเมล์ข, แก้ไขไฟล์แนบ จัดตารางเวลาการประชุม ท่องอินเทอร์เน็ต และฟังเพลงได้ http://www.microsoft.com/thailand/windowsmobile/devices/samsung.mspx
  180. Symbian OS สามารถบันทึกการนัดหมาย ท่องเว็บ ส่งและรับอีเมล์ และอื่นๆ
  181. System Software Software สำหรับสนับสนุนระบบ หรือโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) เครื่องมือแสดงไฟล์ (File Viewer) เช่น Windows Explorer เครื่องมือบีบอัดไฟล์ (Data Compression) เช่น WinZip, WinRAR โปรแกรมวินิจฉัยข้อผิดพลาด (Diagnostic Utility ) เช่น Windows XP โปรแกรม Dr. Watson จะตรวจความผิดพลาดของระบบคอมพิวเตอร์ และแก้ไนทันทีที่พบ เครื่องมือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม (Uninstaller) เครื่องมือตรวจสอบดิสก์ (Disk Scanner) เครื่องมือจัดเรียงข้อมูล (Disk Defragmenter) เครื่องมือสำรองข้อมูล (Backup Utility) เช่น Norton Backup และ Colorado Scheduler เครื่องมือกู้คืนข้อมูล (Data Recovery) - GetDataBack Data Recovery 1.0, VirtualLap Data Recovery 2.3, R-Studio Recovery 2.0 เครื่องมือพักหน้าจอ (Screen Saver) โปรแกรมรักษาความปลอดภัย เช่น Norton AntiVirus
  182. เครื่องมือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม (Uninstaller)
  183. System Software ตัวแปลภาษา (Language Translator) ใช้เพื่อแปลความหมายของคำสั่งในภาษาระดับสูงชนิดต่างๆ ให้เป็นภาษาเครื่อง Interpreter เป็นตัวแปลภาษาที่จะแปลคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาระดับสูง (Source Code/Source Program) ครั้งละ 1 คำสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง(Object Code/Object Program) แล้วนำคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทำการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ทันที หลังจากนั้นจะรับคำสั่งถัดไปในโปรแกรมเพื่อแปลเป็นภาษาเครื่องแล้วทำการประมวลผล ทำเช่นนี้จนกว่าจะจบโปรแกรม Compiler เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงที่จะตรวจสอบคำสั่งที่เขียนขึ้นทั้งหมดก่อนแล้วจึงทำการแปลเป็นภาษาเครื่องภายในครั้งเดียวจากนั้นเครื่องก็จะทำการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ
  184. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง Software ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานในด้านใดด้านนึงโดยเฉพาะ ซึ่งอาจเป็น Software สำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาดทั่วไป หรืออาจเป็น Software ที่ต้องรวบรวมความต้องการจากผู้ใช้ก่อน จึงพัฒนา Softwareให้สามารถทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. Software ที่ใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software) 2. Software เพื่อใช้งานทั่วไป (General-Purpose Application Software)
  185. 1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software) เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่จะต้องมีการรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ ก่อนการพัฒนาขึ้นเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถทำงานได้ตรงตามความต้องการนั้น บางครั้งเรียกว่า” Custom-designed Application” เช่น ระบบงานบัญชี ระบบงานคลังสินค้า ระบบงานขาย ระบบงานห้องสมุด ระบบงานทะเบียนประวัติ ระบบบริหารงานบุคคล ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่าน Web และระบบ E-commerce จำเป็นต้องจ้างนักพัฒนาระบบหรือบริษัทรับพัฒนาระบบ ให้วิเคราะห์ความต้องการ (Analysis) ออกแบบระบบ(Design) เขียนโปรแกรม(Coding) และติดตั้งเพื่อใช้งาน (Implementation/Installation)
  186. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software)
  187. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software)
  188. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software) ข้อดี 1. สามารถตอบสนองความต้องการใช้งานทางด้านธุรกิจขององค์กรได้เป็นอย่างดี 2. มีบุคลากรที่คอยดูแล บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ของระบบอย่างสม่ำเสมอ 3. สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข Software ได้ตามต้องการ 4. สามารถออกแบบให้ซอฟต์แวร์สามารถทำงานร่วมกับซอฟต์แวร์ของระบบงานอื่นได้ ข้อเสีย 1. ต้นทุนในการพัฒนาค่อนข้างสูง 2. ใช้เวลานานในการพัฒนาระบบ 3. หากทีมพัฒนาระบบไม่มีประสบการณ์เพียงพอ บริษัทผู้จ้างมีโอกาสได้ระบบที่ไม่ตรงตามต้องการจริงๆ หรือกรณีเลิกจ้างกลางคันทำให้บริษัทเสียค่าใช้จ่าย
  189. 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานทั่วไป(General-Purpose Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ผลิตได้พัฒนาขึ้นมา ให้ผู้ใช้สามารถนำไปใช้งานได้โดยตรง โดยไม่ต้องไปพัฒนาเอง ซอฟต์แวร์ชนิดนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Packaged Software)” ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พร้อมใช้งานได้ทันที มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาดทั่วไป หรือสามารถ Down Load ฟรี ตาม Web Site ต่างๆ เช่น ระบบบัญชี สำเร็จรูป, ระบบห้องสมุด, ระบบใบสั่งของ, ระบบจ่ายค่าตอบแทน,ระบบงานโรงแรม, ระบบร้านอาหาร, ระบบร้านเช่า VCD, โปรแกรมบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) หรือ Microsoft Words, Microsoft Excel, Microsoft Access, MySQL, Microsoft Powerpoint , Microsoft Project, Pladao Writer, MySQL
  190. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานทั่วไป(General-Purpose Application Software) ข้อดี 1. ค่าใช้จ่ายลงทุนน้อย 2. มีคุณภาพดี มีการทดสอบหลายรอบก่อนออกสู่ตลาด 3. มีการให้คำปรึกษา 4. สามารถ Upgrade เป็นเวอร์ชันใหม่ได้ ข้อเสีย 1. ไม่สามารถตอบสนองต่อการใช้งานด้านธุรกิจอย่างครบถ้วน 2. บางครั้งซื้อมา ความสามารถอาจไม่ตรงตามความต้องการ 3. กรณีผู้ผลิตหรือบริษัทเจ้าของซอฟต์แวร์เลิกกิจการ ขาดการติดต่อ
  191. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานทั่วไป (General-Purpose Application Software) http://www.sbsoft.co.th/ecom/easyacc.php?cate_id=15
  192. หน้าจอโปรแกรมหลัก หน้าจอประวัติลูกค้า ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Packaged Software) โปรแกรมบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) สามารถซื้อ หรือ Down load ฟรี และติดตั้งใช้งานได้ทันที http://www.nanosoft.co.th
  193. ประเภทของ Software 1. Software ที่เสียค่าใช้จ่าย MS Office, MS SQL Server 2. Software ที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย (Shareware), (Freeware), (Open Source) แชร์แวร์ (Shareware) เป็น Software ที่สามารถใช้งานได้ฟรีภายใต้เงื่อนไขต่างๆ คือให้ทดลองใช้ก่อนจ่ายเงิน แต่มีข้อจำกัดคือจำนวนครั้งที่ใช้งาน จำกัดระยะเวลาใช้งาน หรือให้มาไม่เต็มประสิทธิภาพการใช้งาน (ให้ฟังก์ชันงานมาไม่ครบ) ฟรีแวร์ (Freeware) เป็น Software ที่ผู้สร้างมีความประสงค์ที่ให้ใช้งานโปรแกรมที่ตนเองได้พัฒนาขึ้น โดยไม่คิดมูลค่า และทำการเผยแพร่ให้แก่ผู้ใช้ทาง Internet ผู้ใช้จะต้อง Down load มาจัดเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อทำการติดตั้งและใช้งานต่อไป แต่ทั้งนี้จะไม่มีการเปิดเผย Source Code ที่ใช้ในการพัฒนา
  194. โอเพนซอร์ส (Open Source) คือ Software ที่สามารถนำไปใช้งาน ศึกษา พัฒนาต่อ และเผยแพร่ได้อย่างเสรี ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดเป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดเผยรหัสต้นฉบับ ให้สาธารณะนำไปพัฒนาต่อยอดได้ ทำให้เกิดการร่วมมือกันทำงานอย่างไร้พรมแดนผ่านเครือข่าย Internet เช่น MySQL และ Linux http://www.artnanastudio.com/miniweb/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=3
  195. ตัวอย่าง Software ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
  196. Linux TLE
  197. Pladao office
  198. Web Browser : Mozila Firefox http://lanta.giti.nectec.or.th/drupal/?q=node/237
More Related