400 likes | 761 Views
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer Assisted Instruction : CAI. อ. กฤติกา สังขวดี โปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ?. ในการจัดการศึกษาเรามี คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน ถือเป็นเทคโนโลยีที่เป็นอุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์ชิ้นหนึ่งที่มี
E N D
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer Assisted Instruction : CAI อ. กฤติกา สังขวดี โปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ? ในการจัดการศึกษาเรามี คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน ถือเป็นเทคโนโลยีที่เป็นอุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์ชิ้นหนึ่งที่มี ประสิทธิภาพในการช่วยการสอนการนำบทเรียนช่วยสอน เข้ามามีบทบาททางการศึกษาอย่างหนึ่งก็เพื่อการบริหาร และใช้เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนที่เรียกว่า Computer Based Instruction : CBI คือการใช้ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักในการสอนโดยสามารถแบ่ง ออกเป็น • คอมพิวเตอร์จัดการสอน(Computer Manage Instruction : CMI) • คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction : CAI)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ? • คอมพิวเตอร์จัดการสอน(Computer Manage Instruction : CMI) • คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction : CAI)
คอมพิวเตอร์จัดการสอน : CMI เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดหลักสูตรการเรียน การจัดทำตารางสอน ระบบงานธุรการ งานสำนักงานระบบเงินเดือน ระบบการประเมินผล ระบบการลงทะเบียนเรียนเป็นต้น
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน : CAI CAI เป็นกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการนำ เสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรงและเป็นการ เรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์(Interactive) กับผู้เรียนคือสามารถ โต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ จำแนกได้ 3 ชนิด คือ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน : CAI 1. CAI (Computer Assisted Instruction) 2. CAL (Computer Assisted Learning) 3. CBT ( Computer Base Training)
ความสามารถของบทเรียน CAI • ช่วยจัดในการจัดการเรียนการสอนตามจุดประสงค์ที่วางไว้ • มีความสามารถในการทบทวนบทเรียน • การวัดผลประเมินผล • เป็นชุดการเรียนที่สามารถเรียนได้ด้วยตนเอง • เนื้อหาโปรแกรมแบ่งเป็นหน่วย ๆ ได้ • ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองได้ บทเรียนมักเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่มีความสามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้ เสมือนกับได้นั่งเรียนกับครูจริงๆ
องค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนองค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • เสนอบทเรียนแบบสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว • เปรียบเป็นสารานุกรมให้ผู้เรียนได้ค้นคว้า • ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล การชมเชยหรือ คะแนน • ให้ผู้เรียนเลือกเรียนบทเรียนตามต้องการในลำดับหัวข้อ
การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • ประเภทเพื่อการสอน (Tutorial Instruction) ประเภทนี้มีวัตุประสงค์ เพื่อการสอนเนื้อหาใหม่แก่ผู้เรียน มีการแบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อย เป็นตอน มีคำถามในตอนท้าย ถ้าตอบถูกและผ่าน ก็จะเรียนหน่วยถัดไป โปรแกรมประเภท Tutorial เป็นการนำเสนอโปรแกรมแบบสาขา สามารถสร้างเพื่อการเรียน สอนได้ทุกรายวิชา
การนำเสนอโปรแกรมบทเรียนแบบ Tutorial Instruction บทนำโปรแกรม เสนอเนื้อหาบทเรียน คำถามและคำตอบ จบบทเรียน ให้ข้อมูลย้อนกลับ ตรวจคำตอบ
ประเภทการฝึกหัด(Drill and Practice) ประเภทนี้มีวัตถุประสงค์คือ เป็นการฝึกความแม่นยำ หลังจากที่เรียนเนื้อหาจากในห้องเรียนมาแล้วจะเป็ฯการสุ่มคำถามที่นำมาจากคลังคำถาม จากนั้นจะมีการประเมินผลผู้เรียน
รูปแบบโปรแกรมบทเรียนแบบ Drill and Practice บทนำโปรแกรม เสนอปัญหา คำถาม คำถามและคำตอบ จบบทเรียน ให้ข้อมูลย้อนกลับ ตรวจคำตอบ
ประเภทสถานการณ์จำลอง(Simulation)ประเภทสถานการณ์จำลอง(Simulation) วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติกับสถานการณ์จำลองที่มี ความใกล้เคียงกับเหตุการณ์จริง เพื่อฝึกทักษะและเรียนรู้โดยเป็นการจำลองสกถานการณ์ให้ผู้เรียนไม่ต้องเสี่ยงหรือเสียค่าใช้จ่ายมาก เช่นโปรแกรมสาธิต(Demostration) เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงทักษะที่จำเป็น
ประเภทเกมการสอน (Instruction Games) ประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ให้ผู้เรียนเกิดความเร้าใจในการเรียนรู้ มีการแข่งขัน เราสามารถใช้เกมในการสอนและจัดบทเรียนให้เป็นเกมเพื่อเป็นสื่อที่ให้ความรู้แก่ผู้เรียนได้ในแง่ของกระบวนการ ทัศนคติ ตลอดจนทักษะต่างๆ ทั้งยังช่วยเพิ่มบรรยากาศในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
รูปแบบโปรแกรมแบบ Instruction Games บทนำโปรแกรม เสนอสถานการณ์ การกระทำที่ต้องการ การกระทำของผู้เรียน จบบทเรียน การปรับระบบ การกระทำของคู่แข่งขัน
ประเภทการค้นพบ (Discovery มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียน ได้มีโอกาสทดลองกระทำสิ่งต่างๆ ก่อน จนกระทั่งสามารถหาข้อสรุปได้ด้วยตนเอง โปรแกรมจะเสนอปัญหาให้ ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกและให้ข้อมูลแก่ผู้เรียนเพื่อช่วยผู้เรียนในการค้น พบนั้น จนกว่าจะได้ข้อสรุปที่ดีที่สุด
ประเภทการแก้ปัญหา (Problem-Solving) เพื่อฝึกให้นักเรียนรู้จักการคิด การตัดสินใจ โดยจะมีเกณฑ์ ที่กำหนด ให้แล้วผู้เรียนพิจารณาตามเกณฑ์นั้นๆ • ผู้เรียนเป็นผู้กำหนดปัญหาเอง • ผู้เขียนกำหนดปัญหาให้
ประเภทเพื่อการทดสอบ (Test) ประเภทนี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อการสอน แต่เพื่อใช้ประเมินการสอน แต่เพื่อใช้ประเมินการสอนของครูหรือการเรียนของนักเรียน คอมพิว- เตอร์จะประเมินผลในทันทีว่านักเรียนสอบได้หรือสอบตก และจะอยู่ ในลำดับที่เท่าไรได้ผลการสอบกี่เปอร์เซ็นต์
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Instruction Computing Development • ควรมีการวางแผนอย่างเป็นขั้นตอน กำหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน ขั้นตอนออกแบบ Instruction Design ขั้นการผลิต Instruction Construction ขั้นการประยุตก์ใช้ Instruction Implement
การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • วิเคราะห์เนื้อหา • เลือกเนื้อหาที่มีการฝึกทักษะซ้ำบ่อยๆหรือต้องมีภาพประกอบ • เลือกเนื้อหาที่คาดว่าจะประหยัดเวลาสอนได้มากกว่าวิธีเดิม • เลือกเนื้อหาบางอย่างที่สามารถจำลองในรูปของการสาธิตได้
การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • ต้องศึกษาความเป็นไปได้ • มีบุคคลากรที่มีความรู้มากพอทีจะผลิตโปรแกรมหรือไม่ • จะใช้เวลาเท่าไร มากหรือน้อยกว่าเดิม • ต้องการอุปกรณ์พิเศษเพิ่มเติมมากน้อยเพียงใด • มีงบประมาณเพียงพอหรือไม่
การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • กำหนดวัตถุประสงค์ โดยคำนึงถึง… • ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน ว่าเป็นใคร อายุเท่าไร พื้นฐานเดิมเป็นอย่างไร • สิ่งที่คาดหวังจากผู้เรียน เมื่อได้ศึกษาโปรแกรมเรื่องนี้แล้ว
การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • ลำดับขั้นการนำเสนอ • ภาษาที่ใช้มีความเหมาะสมกับผู้เรียนหรือไม่ • ขนาดของตัวอักษร ข้อความ สีของข้อความ เหมาะกับผู้เรียนหรือไม่ • องค์ประกอบโดยรวมใน 1 จอภาพ • ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ดีหรือต้องปรับปรุง • การสร้างแรงเสริมแก่ผู้เรียน..คำชม รางวัลต่างๆมากหรือน้อยไป • แบบฝึกหัดประจำหน่วย ประจำบท
สรุปขั้นตอนของการออกแบบโปรแกรม CAI วิเคราะห์เนื้อหา ศึกษาความเป็นไปได้ กำหนดวัตุประสงค์ ลำดับขั้นตอนการนำเสนอ
หลักการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหลักการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ ซึ่งจะดำเนินการต่อจากตอนแรกที่ได้มี การจัดทำเป็น Story board ไว้แล้ว • ขั้นการสร้างโปรแกรม โดยนำเอา Story Board ที่ได้สร้างไว้ • มาเขียนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์หรืออาจใช้โปรแกรมสำหรับ • สร้างงานมัลติเมียเดียก็ได้ แต่สิ่งที่ต้องระวังคือ คำสั่งผิดพลาด ตรรกะผิดพลาด ความคิดรวบยอดผิดพลาด
หลักการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหลักการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • ขั้นการทดสอบการทำงาน • ควรมีการทดสอบหาข้อผิดพลาดที่เราเรียกว่า Bug • ตรวจสอบเนื้อหาบนจอภาพรวมรวมข้อแก้ไข • ทดลองใช้งานจริงกับนักเรียน (Try-Out Program)
หลักการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหลักการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ขั้นปรับปรุงแก้ไข… หลังจากที่ทราบข้อผิดพลาดแล้วก็จะทำการแก้ไข โดยจะเริ่มที่ Story Board ก่อน จากนั้นแก้ไขโปรแกรม จนกระทั่งสม- บูรณ์ แล้วจึงจัดทำคู่มือประกอบการใช้โปรแกรมด้วย • คู่มือจะแบ่งเป็น 3 เล่มคือ • คู่มือผู้สอน • คู่มือผู้เรียน • คู่มือการใช้โปรแกรม
สรุป สร้างและพัฒนาโปรแกรม ผู้สอน/เจ้าของพิจารณา รวมรวมข้อผิดพลาด ทดสอบการทำงาน ทดลองใช้งานจริง ตรวจหาข้อผิดพลาด จัดทำคู่มือโปรแกรม
การสร้างคู่มือผู้เรียนการสร้างคู่มือผู้เรียน บอกชื่อเรื่อง ชื่อวิชา หน่วยการสอน ระดับชั้น บอกวัตถุประสงค์ทั่วไปของบทเรียน และของเนื้อหาวิชา บอกโครงร่างเนื้อหา บอกพื้นความรู้ที่ควรมีก่อนเรียนเนื้อหานี้ คำชี้แจงต่างๆ และแสดงตัวอย่างการใช้งานเฟรมบทเรียน บอกขั้นตอนของกิจกรรม กฏเกณฑ์ และข้อเสนอแนะ บอกระยะเวลาโดยประมาณในการเรียนบทเรียน
การสร้างคู่มือผู้สอน • บอกโครงร่างเนื้อหา • บอกจุดประสงค์ • บอกรายละเอียดว่าสอนวิชาอะไร ตอนไหน พื้นฐานของผู้สอน • แสดงตัวอย่าง เพื่อชี้แนะผู้สอน ว่าจะใช้ CAI อย่างไร • แสดงตัวอย่าง Input และ Output จากผู้เรียน • เสนอแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม • เสนอแนะการดำเนินกิจกรรม • ตัวอย่างแบบทดสอบก่อน(ถ้ามี)และหลังบทเรียน
การสร้างคู่มือการใช้โปรแกรมการสร้างคู่มือการใช้โปรแกรม • บอกชื่อโปรแกรม ผู้เขียน ลิขสิทธิ์ วันที่แก้ไขปรับปรุง • ภาษาหรือฟังก์ชั่น หรือโปรแกรมที่ใช้ • ฮาร์ดแวร์ที่จำเป็นต้องมีหรือองค์ประกอบอื่นๆ • วิธีการเป็นขั้นๆ เริ่มตั้งแต่เปิดเครื่อง • พิมพ์ Source Code กรณีเป็นโปรแกรมภาษา • แสดงโฟลว์การทำงานของโปรแกรม • ตัวอย่างข้อมูล Input และ Output
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน • การประยุกต์ใช้ในห้องเรียน ใช้กับกลุ่มเป้าหมายจริง • การประเมินผล คือขั้นสุดท้ายของการพัฒนาโปรแกรม • ประเมินว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ • ประเมินว่าโปรแกรมทำงานได้เหมาะกับเนื้อหาหรือไม่ • ประเมินทัศนคติของผู้เรียน • ความยากง่ายในการใช้งาน
แสดงชื่อเรื่อง แนะแนะบทเรียน เลือกบทเรียน แสดงคำอธิบาย Help แสดงคะแนน จบโปรแกรม ตั้งคำถาม รับคำตอบ ถามซ้ำอีก แสดงคำอธิบายเพิ่ม ตัวอย่างแสดงผังการทำงาน
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม CAI เป็นการนำโปรแกรมที่นิยมมาใช้สร้างเพื่อความสะดวกในการนำเสนอบทเรียน • ใช้เวลาในการเรียนรู้บทเรียนได้ตลอด • ออกแบบให้ผู้เรียนสะดวก • สะดวกในการใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ พัฒนาด้วยโปรแกรม์ เช่น Toolbook, Authorware, Flash,Cula CAI ฯลฯ
ลักษณะโครงสร้างของ CAI 1. การนำเสนอ (Presentation 2. การปฏิสัมพันธ์ (Interactive) 3. การประมวลผล (Evaluation