900 likes | 1.08k Views
Computer. Wirat Poomasree. คอมพิวเตอร์. การศึกษา. การคมนาคม. การแพทย์. อุตสาหกรรม. การสื่อสาร. คอมพิวเตอร์คืออะไร.
E N D
Computer WiratPoomasree
คอมพิวเตอร์คืออะไร “ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกโปรแกรมให้รับข้อมูล (Input)เพื่อนำไปประมวลผล (Process) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ (Output)ตามที่ต้องการและสามารถเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในครั้งต่อไป ”
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ • มีประสิทธิภาพ (Efficiency)ประมวลผลด้วยความเร็วสูง • มีประสิทธิผล (Effectiveness)ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง • มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูล (Storage Capability) เก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก • มีความน่าเชื่อถือ (Reliability) • สามารถทำงานซ้ำๆ (Repeatability)
Advantages of Computer and Technology • ผลิตผลมาก (Productivity) • ประกอบการตัดสินใจ (Decision Making) • ลดค่าใช้จ่าย (Cost Reduction) • สังคมที่ไม่ใช้เงินสด (Cashless Society) • ง่ายต่อการติดต่อสื่อสาร (Easy Communication)
AdvantagesofComputerandComputingTechnology (Cont’) • เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน (Work Efficiency) • ตอบสนองความต้องการ (Satisfaction) • ไม่ลำเอียง (Not Bias) • ไม่จำกัดสถานที่ (Portability)
Disadvantages of Computer and Computing Technology • ขึ้นกับผู้เขียนโปรแกรม • ใช้เวลาในการเรียนรู้ • แย่งงาน / แทนที่การทำงานของมนุษย์ • เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว • สร้างพฤติกรรมก้าวร้าว
DisadvantagesofComputerandComputingTechnology (Cont’) • ข่าวสารข้อมูลมีมากเกินไป (Information Flood) • การรับข่าวสารเก่า และ การเข้าถึงข่าวสาร • ปัญหาสุขภาพ • ปัญหาผู้ก่อความไม่สงบ
Computer Usage • งานที่เสี่ยงอันตราย • การป้องกันภัยธรรมชาติ • การสำรวจ • การเกษตร • การศึกษา และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ • การคมนาคม และการติดต่อสื่อสาร
Computer Usage (Cont’) • บริษัท ห้างร้าน และองค์กรต่างๆ • ระบบรักษาความปลอดภัย • การแพทย์ และสาธารณะสุข • งานดนตรี • งานศิลปะ
ประเภทของคอมพิวเตอร์ • SUPER • MIAN FRAME • MINI • MICRO
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ใช้งานทั่วไป ตามลักษณะการใช้งาน ใช้งานเฉพาะ Supercomputer Main Frame computer ตามขนาด/ความสามารถ Minicomputer Microcomputer Handheld computer
ประเภทของคอมพิวเตอร์ 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) 2.เมนเฟรม (Mainframe) 3.มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) 4.Workstation 5.ไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer)= PC 6. Handheld computer
SUPPER COMPUTER เครื่องคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (high performance computer) นำไปใช้กับการทำงานเฉพาะทางที่ต้องการความเร็วในการประมวลผลมาก เหมาะกับงานคำนวณซับซ้อนมากๆเช่น งานวิเคราะห์และพยากรณ์อากาศการสำรวจอวกาศงานวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียมงานจำลองแบบ (simulation)
Main Frame computer เป็นเครื่องที่มีสมรรถนะการทำงานสูงเช่นเดียวกันแต่เหมาะกับการใช้งานทั่วไปมากกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เหมาะสำหรับหน่วยงานที่มีบริษัทสาขาและประมวลผลข้อมูลในปริมาณมาก เช่น ธนาคารหรือธุรกิจสายการบิน
Minicomputer เหมาะกับบริษัทธุรกิจหรือหน่วยงานขนาดกลาง ให้บริการแก่เครื่องลูกข่าย (client) บางอย่าง เช่น แฟ้มข้อมูล เว็บ เครื่องพิมพ์ บางรุ่นเทียบได้กับเมนเฟรม บางรุ่นอาจมีความเร็วเทียบเท่าพีซี
4. เวิร์กสเตชั่น (Workstation) • มีความเร็ว ประสิทธิภาพ และราคาสูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ PC โดยทั่วไป • มีจุดเด่นสำหรับงานกราฟฟิก สร้างรูปภาพ และภาพเคลื่อนไหว • สามารถใช้เพื่อเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ • สำหรับงานออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ งานควบคุมเครื่องจักร งานจำลองและคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ฯ • ส่วนใหญ่ใช้ระบบปฏิบัติการ Unix Sun Workstation
Microcomputer ได้รับความนิยมมาก ราคาถูกและหาซื้อมาใช้ได้ทั่วไป พบเห็นในสำนักงานหรือบ้านที่พักอาศัยทั่วไป อาจรวมถึงคอมพิวเตอร์ประเภทเคลื่อนย้ายสะดวกเช่นโน้ตบุ๊คเดสก์โน้ตและ Tablet PC
ขนาดและราคา ซูเปอร์ เมนเฟรม มินิ เวิกสเตชั่น ไมโคร ประสิทธิภาพ
Handheld computer มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ ใช้กับการจัดการข้อมูลประจำวันการสร้างปฎิทินนัดหมายการดูหนังฟังเพลงรวมถึงการรับส่งอีเมล์ โทรศัพท์มือถือบางรุ่นอาจจัดอยู่ในกลุ่มนี้ได้
เดสก์ทอป (Desktop) โน้ตบุ๊ค (Notebook) เน๊ตบุ๊ค(Netbook) เดสก์โน้ต (Desknote) แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) พีดีเอ (PDA : Personal Digital Assistants) สมาร์ทโฟน (Smart Phone) คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ เน้นเครือข่าย ขนาดเล็ก รูปลักษณ์น่าใช้ รองรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์สมัยใหม่
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ (ต่อ) ตัวเครื่องและจอภาพสามารถจัดวางเพื่อทำงานบนโต๊ะได้อย่างสบาย นิยมที่ใช้ในสำนักงานหรือตามบ้านทั่วไปเช่น พิมพ์งานดูหนังฟังเพลงท่องอินเทอร์เน็ตหรือเล่นเกมส์ ปัจจุบันมีการผลิตที่เน้นความสวยงามและน่าใช้มากขึ้น Desktop
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ (ต่อ) มีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับเครื่องพีซี มีขนาดเล็กและบางน้ำหนักเบา สามารถพกพาได้สะดวกมากขึ้น เหมาะกับผู้ใช้ที่ต้องย้ายสถานที่ทำงานบ่อยๆ Notebook
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ (ต่อ) คอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหนึ่งคล้ายกับเครื่องแบบโน้ตบุ๊ค เดสก์โน้ตไม่มีแบตเตอรี่คอยจ่ายไฟให้จึงต้องเสียบปลั๊กตลอดเวลาที่ใช้งาน ตัวเครื่องมีขนาดที่หนากว่าโน้ตบุ๊คบ้างเล็กน้อย Desknote
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ (ต่อ) ป้อนข้อมูลเข้าไปได้โดยการเขียนบนจอภาพ เครื่องสามารถแปลข้อมูลที่เขียนเก็บไว้ได้(ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของเครื่องและโปรแกรม) บางรุ่นอาจพลิกหน้าจอได้แบบ 2 ลักษณะคือเหมือนการใช้งานแบบโน้ตบุ๊คหรือเหมือนกับกระดานรองเขียน มีราคาค่อนข้างแพงเมื่อเทียบกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน Tablet PC
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ (ต่อ) คอมพิวเตอร์ขนาดพกพาที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงในปัจจุบัน แบ่งประเภทออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ • Palm • Pocket PC Palm PDA Pocket PC
พีดีเอ • Palm • เปิดตลาดมาก่อนเครื่อง Pocket PC • ใช้เป็น organizer หรือเครื่องบันทึกช่วยจำต่างๆ เช่นการนัดหมายปฏิทินสมุดโทรศัพท์ • มีระบบปฏิบัติการของตัวเองเรียกว่า Palm OS
พีดีเอ • Pocket PC • ระบบปฏิบัติการที่ใช้จะอิงกับค่ายไมโครซอฟท์เป็นหลัก • ผู้ใช้งานที่คุ้นเคยกับระบบปฎิบัติการ Windows จะรู้สึกคุ้นเคยและใช้งานง่าย • อำนวยความสะดวกในการใช้งานได้ดีเช่นเดียวกันกับเครื่อง Palm
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ (ต่อ) โทรศัพท์มือถือที่พัฒนาขีดความสามารถการทำงานใกล้เคียงกับพีดีเอ ใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์ไปในตัวได้ บางรุ่นสามารถถ่ายรูปและใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ด้วย มีราคาแพงกว่าโทรศัพท์มือถือธรรมดาพอสมควร Smart Phone
คอมพิวเตอร์ในอนาคต • พยายามคิดค้นและพัฒนาขีดความสามารถให้ใกล้เคียงกับมนุษย์มากยิ่งขึ้น • เกิดศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์หรือAI (Artificial Intelligence) • ระบบ expert system หรือระบบผู้เชี่ยวชาญ • ระบบ robotics หรือระบบหุ่นยนต์ • ระบบ natural language หรือการเข้าใจภาษาธรรมชาติของมนุษย์
คอมพิวเตอร์ในอนาคต – (ต่อ) • ระบบ expert system หรือระบบผู้เชี่ยวชาญ • เก็บรวบรวมความรู้ต่างๆที่จำเป็นต้องใช้สำหรับงานใดงานหนึ่งให้อยู่ตลอดไป • สามารถเอามาใช้ทดแทนในกรณีที่หน่วยงานขาดแคลนบุคลากรได้เป็นอย่างดี • อาศัยการสร้าง”ฐานความรู้” (knowledge base)ของผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆเก็บไว้ • ตัวอย่างเช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์เพื่อช่วยวินิจฉัยโรคระบบผู้เชี่ยวชาญในการอนุมัติวงเงินสินเชื่อของธนาคารระบบผู้เชี่ยวชาญเพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาเครื่องยนต์อัตโนมัติเป็นต้น
คอมพิวเตอร์ในอนาคต– (ต่อ) • ระบบ robotics หรือระบบหุ่นยนต์ • เอาคอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกับเครื่องจักรและอุปกรณ์บังคับบางชนิดเกิดเป็น“หุ่นยนต์” (robot) เพื่อทดแทนแรงงานคนได้เป็นอย่างดี • เหมาะกับงานเสี่ยงอันตรายตามโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การสำรวจข้อมูลทางอวกาศ • อาจพบเห็นหุ่นยนต์ที่เลียนแบบพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตเช่น หุ่นยนต์รับใช้ หุ่นยนต์สุนัข เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ในอนาคต – (ต่อ) • ระบบ natural language หรือการเข้าใจภาษาธรรมชาติของมนุษย์ • นำเอาความสามารถของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสื่อสารกับมนุษย์ให้สะดวกขึ้น • ระบบรับรู้และจำเสียงพูดของมนุษย์หรือเรียกว่า speech recognition • แยกแยะและวิเคราะห์คำสั่งเสียงที่ได้รับและทำงานตามที่สั่งการได้เอง • ลดระยะเวลาในการทำงานของผู้ใช้ลงไปได้
Components of Computing System (เก่า) SOFTWARE HARDWARE PEOPLEWARE
Components of Computing System (IT) HARDWARE SOFTWARE PEOPLEWARE INFORMATION
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. บุคลากร (Peopleware) 4.สารสนเทศ (Information)
1.ฮาร์ดแวร์ : คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทำงานประสานกัน เพื่อให้ได้งานตามที่ต้องการ
หน่วยรับข้อมูล KEYBOARD
หน่วยรับข้อมูล MOUSE
หน่วยแสดงผลลัพธ์ MONITOR