1 / 64

เทคนิคการนำเสนอด้วย Power Point ให้ดูน่าสนใจ

เทคนิคการนำเสนอด้วย Power Point ให้ดูน่าสนใจ. ดร.เศรษฐชัย ชัยสนิท. ปัญหา. เรามักจะทำ “การนำเสนอ” ที่ไม่สามารถสื่อให้ผู้ฟังได้เข้าถึงประเด็น เราคิดว่าที่เราทำมาดีอยู่แล้ว เราไม่รู้ว่ามันไม่ดีอย่างไร. ใช้แบบโครงแบบ ( template). ใช้ “ฟอนต์” และ “สี” ที่เหมาะสมตามที่ template ให้มา

evangeline
Download Presentation

เทคนิคการนำเสนอด้วย Power Point ให้ดูน่าสนใจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคการนำเสนอด้วย Power Point ให้ดูน่าสนใจ ดร.เศรษฐชัย ชัยสนิท

  2. ปัญหา • เรามักจะทำ “การนำเสนอ” ที่ไม่สามารถสื่อให้ผู้ฟังได้เข้าถึงประเด็น • เราคิดว่าที่เราทำมาดีอยู่แล้ว • เราไม่รู้ว่ามันไม่ดีอย่างไร

  3. ใช้แบบโครงแบบ (template) • ใช้ “ฟอนต์” และ “สี” ที่เหมาะสมตามที่ template ให้มา • ใช้หลายโครงแบบมากในเรื่องๆเดียวจะทำให้ผู้ฟังไปสนใจเรื่องอื่น • ที่สำคัญคือเราต้องให้ผู้ฟังจดจ่อกับ “เรื่องที่นำเสนอ” • ไม่ใช้ให้เขาจดจ่อต่อ “วิธีการนำเสนอ”

  4. ฟอนต์และสี(Font & Colors)

  5. ฟอนต์ (เปรียบเทียบขนาด) • Angsana UPC 24: • ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน • Angsana New 24: • ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน • Browallia New 24: • ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน • Cordia New 24: • ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน • Tahoma 18: • ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน

  6. ฟอนต์ (เปรียบเทียบลักษณะ) • Angsana UPC 32: ไทย • Angsana New 32: ไทย English • Browallia New 32: ไทย English • Cordia New 32: ไทย English • Courier New 32: English • Tahoma 32: ไทย English • Verdana 32: English

  7. ขนาดของฟอนต์ (Tahoma) • 28 อ่านออก • 24 อ่านออก • 20 อ่านออก • 18 อ่านออก • 16 อ่านออก • เมื่อไหร่จะมีใครๆ สักคนที่เป็นของเรา (๒๘) • เมื่อไหร่จะมีใครๆ สักคนนะที่รักเรา (๒๔) • เท่านี้ที่ต้องการขอเกินไปตรงไหน (๒๐) • เมื่อไหร่จะมีใครๆ สักคนที่เคียงข้างเรา (๑๖) • แค่อยากจะมีคนที่ทำให้ใจไม่ต้องเหงา (๑๒) • ไม่รู้ต้องเมื่อไหร่ เหมือนมันยังห่างไกล(๘)

  8. ข้อแนะนำ • อย่าใช้ฟอนต์หลายแบบ อย่างมากสองต่อ slide • ขนาดของ bullet แรกไม่ควรเล็กกว่า ๒๘ • ขนาดของ bullet ที่สองไม่ควรเล็กกว่า ๒๔ • ไม่ควรใช้ bullet ขนาดเล็กกว่า ๑๖ ในทุกกรณี

  9. ข้อแนะนำ • เลือกฟอนต์ที่อ่านง่าย • Eng: Times New Romanหรือ Arialจะอ่านง่ายกว่า Scriptหรือ Handwriting • ไทย : Cordia Newจะอ่านง่ายกว่า Angsana New • ถ้าต้องการความกว้างตัวหนังสือคงที่ • Eng: Courier New • ไทย : Cordia New, Tahoma

  10. การใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ • ในภาษาอังกฤษ อย่าใช้ทุกตัวเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ALL CAPITAL LETTERS • เพราะอ่านยาก • ใช้เฉพาะ คำย่อ • ไม่ควรใช้เน้นคำ

  11. การใช้ตัวเอียง • ตัวเอียง (Italic) • ใช้สำหรับคำพูดที่อ้างจากผู้อื่น“quotes” • ใช้สำหรับhighlightแนวคิดหรือคำสำคัญ • ใช้สำหรับชื่อเอกสารอ้างอิงtitles

  12. Bullets • การทำ bullet ไม่จำเป็นต้องใส่ประโยคเต็มอย่างละเอียด • ใส่เฉพาะคำสั้นๆ กระชับ • ใช้เป็นแนวบอกผู้ฟังว่าจะพูดอะไรเท่านั้น • ควรอยู่ภายในบรรทัดเดียวหรือสองบรรทัดอย่างมาก • ในหนึ่งหน้า • ไม่ควรมีเกิน 6 bullets • ถ้ามีรูปหรือคำยาวๆ ก็ไม่ควรมีเกิน 5 bullets • ถ้ามีข้อความมาก จะไม่มีใครอ่าน • เพราะผู้ฟังจะคาดเดาว่า “สิ่งที่คุณกำลังพูดไม่ต่างจากที่คุณเขียน”

  13. Colours • สีแดง และ สีส้ม มีพลังงานสูง บางครั้งเกินกว่าที่สายตาจะจดจ่อ • สีเขียว สีน้ำเงิน และสีน้ำตาล เป็นสีที่อ่อนกว่าแต่อาจทำให้ไม่น่าสนใจ

  14. สีในเชิงจิตวิทยา • สีน้ำเงินเข้ม • ความน่าเชื่อถือ แน่นอน • สีแดง • ความโชคดี กระตือรือร้น แต่ขาดความยับยั้ง • สีขาว • ความสะอาด แต่ขาดเรื่องการปฏิบัติ • สีดำ • ความลึกลับ ความเชื่อ แต่อาจเติมเรื่องความกลัว • สีฟ้า • สดใส แต่ขาดความหนักแน่น • สีเขียว • เรียบง่าย สบาย แต่ขาดอารมณ์การทำงาน • สีชมพู • ออกเชิงผู้หญิง หวาน • สีส้ม • กระตือรือร้น น่าสนใจ แต่อ่านยาก

  15. การให้สีพื้นและสีตัวอักขระการให้สีพื้นและสีตัวอักขระ • ตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะไม่ดีสำหรับห้องขนาดผู้ฟังหลังห้องไกลกว่า ๖ เมตร • อย่าใช้ฟอนต์สีเข้มบนพื้นเข้ม • อย่าใช้ฟอนต์สีอ่อนบนพื้นสีอ่อน • อย่าใส่สีพื้นเข้มในห้องมืด • แสงจากฉากหลังสีขาวมีพลังงานมากกว่าแสงจากตัวหนังสือสีขาว

  16. การให้สีพื้นและสีตัวอักขระการให้สีพื้นและสีตัวอักขระ • ตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะไม่ดีสำหรับห้องขนาดผู้ฟังหลังห้องไกลกว่า ๖ เมตร • อย่าใช้ฟอนต์สีเข้มบนพื้นเข้ม • อย่าใช้ฟอนต์สีอ่อนบนพื้นสีอ่อน • อย่าใส่สีพื้นอ่อนในห้องมืด • แสงจากฉากหลังสีขาวมีพลังงานมากกว่าแสงจากตัวหนังสือสีขาว

  17. วงล้อของสี • สีที่ใกล้เคียงกันแสดงถึงความคล้ายกัน • สี่ที่ตรงข้ามกันแสดงถึงความแตกต่าง • สีที่ตรงข้ามกันมากๆช่วยให้อ่านง่าย YELLOW on BLUE

  18. ตัวอย่างที่ต้องปรับปรุงตัวอย่างที่ต้องปรับปรุง รู้จักวิเคราะห์ รู้จักจำนวนของปริมาณ รู้จักคิดหาเหตุผล รู้จักติ-รู้จักก่อ รู้จักค้นหาความเป็นจริง รู้จักคำนวณเป็นตัวเลข รู้จักหลักการของเศรษฐศาสตร์ รู้จักปรับปรุงแก้ไข ชอบมีข้อสรุป ชอบจินตนาการ ชอบคาดการณ์ ชอบตื่นเต้น กล้าลองเสี่ยง ชอบถูกกระตุ้น ชอบท้าทาย ชอบเรื่องประหลาดๆ ชอบรู้ ชอบลองใหม่ ซีกเหตุผล ซีกอยากลอง การอยากรู้ การอยากลอง การมีความรู้สึก การต้องทำ ทำอะไรต้องปลอดภัย โครงการต้องเป็นกระบวนการ ทำอะไรต้องเรียบร้อย ต้องเที่ยงตรง เชื่อมั่นได้ ต้องเป็นระบบ มีระเบียบ ทุกอย่างต้องดี ต้องทันเวลา ต้องวางแผน การเข้าใจถึงความรู้สึกของผู้อื่น การชอบสอนให้คนได้รู้ การชอบสัมผัส การสนับสนุนให้กำลังใจ การแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึก การแสดงออกถึงกิริยาท่าทาง การชอบพูดมีกระแสเสียง การมีศิลปะ ซีกความมั่นคง ซีกอารมณ์ความรู้สึก

  19. กราฟแบบต่างๆ

  20. Tabulating and Graphing Categorical Data • Univariate data: • Tabulate using a summary table. • Graph using a bar chart or a pie chart • Bivariate Data: • Tabulate using a contingency table. • Graph using a compound bar chart.

  21. Summary Table 1. Lists Categories & Number of Elements 2. Count by Tallying 3. Show Frequencies (Counts) or Percentages Row Is Category Tally:|||| |||||||| |||| Major Count Accounting 130 Economics 20 Management 50 200 Total

  22. Bar Chart Bars for categorical variables Major Bar Length Shows Frequency Mgmt. Equal Bar Widths Econ. Gaps must exist (1/2 to 1 bar width) Acct. Zero Point 0 50 100 150 Frequency

  23. Contingency Table • Level of Study:UUSSU USSUSGender:MFFMM MFMMF • ( U=University , S=SecondarySchool ; M=Male , F=Female ) Gender Level of Study Total Male Female University 5 41 23 SecondarySchool 5 Total 10 6 4

  24. กราฟวงกลม • ลักษณะ • เน้นที่ส่วนแบ่งของแต่ละชิ้น • มักไม่เน้นที่ปริมาณ • มักแสดงเป็นเปอร์เซนต์ • คำแนะนำ • หลีกเลี่ยงกราฟสามมิติ • เรียงจากมากมาน้อย • ถ้าไม่มีสีควรใส่ ลวดลาย • ไม่ควรมีจำนวนชิ้นมากเกินไป

  25. 1. Breakdown Total Quantity by Categories 2. Useful for Showing Relative Differences 3. Angle Size : (360°) x (Percent) กราฟวงกลม Mgmt. 25% Econ. 36° 10% Acct. 65% (360°) x (10%) = 36°

  26. กราฟวงกลม

  27. กราฟเส้น • This plot exhibits an obvious seasonal pattern.

  28. Time-Series Plot Sales 8 6 4 2 0 91 92 93 94 95 96 Year

  29. ลักษณะ เพื่อแสดงความสมดุลย์ของตัวแปรต่างๆ ในทิศทางต่างๆ คำแนะนำ จำนวนตัวแปรทั้ง (หลักและรอง) ควรจะต้องจำกัด กราฟเรดาร์

  30. กราฟพื้นที่ผิวสามมิติกราฟพื้นที่ผิวสามมิติ • ลักษณะ • ใช้กับสามตัวแปร • ใช้แสดงการความสัมพันธ์ในทุกกรณี • คำแนะนำ • การแสดงผลมีโอกาสที่จะบังกัน

  31. Tabulating and Graphing Bivariate Categorical Data • Contingency tables: investment in thousands of dollars Investment Investor A Investor B Investor C Total Category Stocks 46.5 55 27.5 129 Bonds 32 44 19 95 CD 15.5 20 13.5 49 Savings 16 28 7 51 Total 110 147 67 324

  32. Tabulating and Graphing Bivariate Categorical Data • Side by side charts

  33. Graphical Excellence

  34. Errors in Presenting Data • Using “chart junk” • Failing to provide a relative basis in comparing data between groups • Compressing the vertical axis • Providing no zero point on the vertical axis

  35. “Chart Junk”  Good Presentation Bad Presentation Minimum Wage Minimum Wage $ 1960: $1.00 4 1970: $1.60 2 1980: $3.10 0 1960 1970 1980 1990 1990: $3.80

  36. No Relative Basis  Bad Presentation Good Presentation A’s received by students. A’s received by students. Freq. % 30 300 200   10 0  FR SO JR SR FR SO JR SR FR = Freshmen, SO = Sophomore, JR = Junior, SR = Senior

  37. Compressing Vertical Axis  Bad Presentation Good Presentation Quarterly Sales Quarterly Sales $ $ 50 200 25 100 0 0 Q1 Q2 Q4 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3

  38. No Zero Point on Vertical Axis  Bad Presentation GoodPresentation Monthly Sales $ Monthly Sales $ 45 45 42 42 39 39 36 36 0 J F M A M J J M A M J F Graphing the first six months of sales.

  39. Bad Presentation

  40. Good Presentation

  41. Bad Presentation

  42. GoodPresentation

  43. Pareto Diagram Axis for bar chart shows % invested in each category Axis for line graph shows cumulative % invested Bad Presentation

  44. Minimising the data density. Bad Presentation

  45. Minimising the data/ink ratio. Bad Presentation

  46. Hiding the difference. Bad Presentation

  47. Showing the data out of context. Bad Presentation

  48. Emphasising the trivial, Labeling in an unreadable, incomplete and ambiguous way Bad Presentation

  49. Codify in one dimension and represent it in many. Bad Presentation

  50. Change regularity in the middle of the axis. Bad Presentation

More Related