760 likes | 1.41k Views
การกำกับดูแลก๊าซ ปิโตรเลียมเหลว ( LPG). วันพฤหัสบดีที่ 30 มิถุนายน 2554 โดย สำนักบริการธุรกิจและการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง. ปริมาณการผลิต นำเข้า และความต้องการใช้ LPG. พันตัน/เดือน. หน่วย : พันตัน/เดือน. หมายเหตุ : ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค. สถานการณ์ก๊าซ LPG ปี 2553 - 2554.
E N D
การกำกับดูแลก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) วันพฤหัสบดีที่ 30 มิถุนายน 2554 โดย สำนักบริการธุรกิจและการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง
ปริมาณการผลิต นำเข้า และความต้องการใช้ LPG พันตัน/เดือน หน่วย : พันตัน/เดือน หมายเหตุ : ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค.
สถานการณ์ก๊าซ LPG ปี 2553 - 2554 หน่วย : พันตัน/เดือน หมายเหตุ : - เป็นปริมาณที่รวมโพรเพน และบิวเทน - ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.–พ.ค.
ปริมาณการนำเข้า LPG และเงินที่รัฐจ่ายชดเชย หมายเหตุ : ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค.
ปริมาณความต้องการใช้ LPG รวม 4 สาขา หมายเหตุ : ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค.
ปริมาณความต้องการใช้ LPG รวม 4 สาขา พันตัน/เดือน หน่วย : พันตัน/เดือน หมายเหตุ: ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-เม.ย.
เปรียบเทียบการเติบโตของการใช้ก๊าซ LPG รายสาขา พันตัน/เดือน ภาคครัวเรือน ภาคขนส่ง พันตัน/เดือน ภาคปิโตรเคมี พันตัน/เดือน ภาคอุตสาหกรรม หมายเหตุ: ปี 2554 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค.-พ.ค.
ราคาขาย LPG ในประเทศเพื่อนบ้าน ที่มา : ปตท. 10 มิ.ย. 54
กฎหมายกำกับดูแลการค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลวกฎหมายกำกับดูแลการค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ร.บ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 ออกตาม พรก. แก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2516
กฎหมายกำกับดูแลการค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลวกฎหมายกำกับดูแลการค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว การกำกับดูแลตาม พ.ร.บ. การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550
ผู้ประกอบการค้าน้ำมันเชื้อเพลิงผู้ประกอบการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง • ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 • ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 10 • สถานีบริการตามมาตรา 11 • ผู้ขนส่งน้ำมันตามมาตรา 12
มาตรา 7 ผู้ค้าน้ำมันรายใหญ่ • ผู้ค้าน้ำมันที่มีปริมาณการค้าน้ำมันแต่ละชนิด หรือรวมกันทุกชนิดปีละ ตั้งแต่ 100,000 เมตริกตันขึ้นไป หรือผู้ค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลวชนิดเดียว ปีละตั้งแต่ 50,000 เมตริกตันขึ้นไป ต้องขอรับใบอนุญาตจากรัฐมนตรี • ค่าธรรมเนียม • 1) คำขอ 100 บาท • 2) ใบอนุญาต 20,000 บาท • 3) การประกอบกิจการค้ารายปี • - ปริมาณการค้าปีละตั้งแต่ 2 ล้านเมตริกตันขึ้นไปปีละ 100,000 บาท - ปริมาณการค้าปีละตั้งแต่ 1 แสนแต่ไม่ถึง 2 ล้านเมตริกตันปีละ 90,000 บาท • - ปริมาณการค้า LPG ชนิดเดียวปีละ 80,000 บาท 12
มาตรา 10 ผู้ค้าส่งน้ำมัน • มีปริมาณการค้าน้ำมันปีละตั้งแต่ 30,000 เมตริกตันขึ้นไป (ประมาณ 36 ล้านลิตร) แต่ไม่ถึง 100,000 เมตริกตัน (ประมาณ 120 ล้านลิตร) หรือ • มีความจุถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงรวมกันทุกชนิดเกิน 200,000 ลิตร ค่าธรรมเนียม : 1) คำขอ 2) ใบทะเบียน ฉบับละ 3) การประกอบกิจการค้ารายปี ปีละ 100 บาท1,000 บาท 30,000 บาท
มาตรา 11 สถานีบริการ • ผู้ค้าน้ำมันซึ่งจัดตั้งเป็นสถานีบริการจำหน่ายน้ำมัน/ LPGให้กับประชาชนผ่านหัวจ่าย และปั๊มหยอดเหรียญ ค่าธรรมเนียม : 1) คำขอ 100 บาท 2) ใบทะเบียน ฉบับละ 1,000 บาท 3) การประกอบกิจการค้ารายปี - กรณีไม่เกิน 5 หัวจ่าย ปีละ 1,000 บาท - กรณีเกิน 5 หัวจ่าย คิดเพิ่มหัวจ่ายละ 100 บาท/ปี แต่รวมกันแล้วไม่เกินปีละ 5,000 บาท 14
มาตรา 12 ผู้ขนส่ง • ผู้รับจ้างขนส่งน้ำมัน/ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ที่มีปริมาณการขนส่งครั้งละตั้งแต่ 3,000 ลิตรขึ้นไป ค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี1) สำหรับรถยนต์ คันละ 1,000 บาท/ปี แต่รวมกันแล้วไม่เกินปีละ 5,000 บาท 2) สำหรับยานพาหนะอื่น คิดค่าธรรมเนียมปีละ 5,000 บาท3) สำหรับยานพาหนะทั้ง 1 และ 2 ค่าธรรมเนียมปีละ 5,000 บาท
หน้าที่ของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 • ส่งบัญชีเกี่ยวกับปริมาณการนำเข้า ซื้อ กลั่น ผลิต ได้มา จำหน่าย และคงเหลือของน้ำมันเชื้อเพลิง ในแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป • ส่งแผนการนำเข้า ซื้อ กลั่น ผลิต และจำหน่ายในช่วง 3 เดือนถัดไป ภายในวันที่ 20 ของทุกเดือน
หน้าที่ของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 (ต่อ) • ยื่นขอความเห็นชอบปริมาณการค้าประจำปี ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 45 วัน ก่อนปีที่จะทำการค้า • ผู้ค้าน้ำมันอาจขอเปลี่ยนแปลงปริมาณการค้าประจำปีตามที่ยื่นขอความเห็นชอบไว้ได้ • เก็บสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดที่อธิบดีกำหนดไว้ทุกขณะ ไม่ต่ำกว่าอัตราที่กำหนด
หน้าที่ของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 (ต่อ) • กรณีเปลี่ยนแปลงรายการที่ขออนุญาตไว้ต้องแจ้งต่ออธิบดีภายใน 30 วันนับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง • การเลิกประกอบกิจการ ต้องแจ้งรัฐมนตรีทราบล่วงหน้า เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วันก่อนวันเลิก และต้องจำหน่ายน้ำมันที่เหลือภายใน 90 วัน นับแต่วันที่เลิก • ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
ชนิดและอัตราการสำรอง ชนิดน้ำมัน ผลิตในประเทศ นำเข้าจาก ต่างประเทศ ร้อยละ ร้อยละ น้ำมันดิบและวัตถุดิบ 5 5 น้ำมันสำเร็จรูป 5 10 น้ำมันที่ใช้ในกิจการทหาร 10,20 10,20 ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 0.5 0.5 ตั้งแต่ 4 ก.ย.2554 1.0 1.0
สถานที่ที่ใช้เก็บสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงสถานที่ที่ใช้เก็บสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง • สถานที่ที่ใช้เก็บสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง ต้องเป็นสถานที่หรือที่ดังต่อไปนี้ • เป็นคลังน้ำมันหรือเป็นสถานที่เก็บน้ำมันที่ • ก. มีทางสำหรับรถยนต์เข้าออกได้สะดวก • ข. มีถังเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงที่ตั้งอยู่บนบกในลักษณะ ตรึงตราถาวรซึ่งสามารถตรวจสอบปริมาณน้ำมัน ได้โดยสะดวก • ค. มีท่อรับจ่าย และลานจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิง
หน้าที่ของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 10 • ส่งบัญชีเกี่ยวกับปริมาณการนำเข้า ซื้อ กลั่น ผลิต ได้มา จำหน่าย และคงเหลือของน้ำมันเชื้อเพลิง ในแต่ละเดือนภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป • แจ้งเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้จดทะเบียนไว้ต่ออธิบดี ภายใน 30 วันนับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง • แจ้งเลิกประกอบกิจการต่ออธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิก • ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
หน้าที่ของสถานีบริการตามมาตรา 11 • แจ้งเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้จดทะเบียน เช่น ชนิดน้ำมันที่ทำการค้า จำนวนถังเก็บและหัวจ่าย หรือที่ตั้งสถานประกอบกิจการ ต่ออธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง • แจ้งเลิกประกอบกิจการต่ออธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิก • ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี ภายในเดือน กุมภาพันธ์ของทุกปี
หน้าที่ของผู้ขนส่ง LPG มาตรา 12 • แจ้งเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้แจ้งไว้ เช่น การเพิ่ม/ลด จำนวนรถ/เรือ ขนส่ง หรือที่ตั้งสถานประกอบกิจการ ต่อ อธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง • แจ้งเลิกประกอบกิจการต่ออธิบดีภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิก • ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการค้ารายปี ภายในเดือน กุมภาพันธ์ของทุกปี
การขนส่ง LPG ของผู้ค้า ม.7 และ ม.11 ต้องเป็นไปตาม วิธีการและเงื่อนไขดังนี้ (1) จัดทำใบกำกับการขนส่ง LPG มอบให้ผู้ควบคุม ยานพาหนะเพื่อนำติดกำกับไปกับยานพาหนะจนถึง สถานที่ส่งมอบปลายทาง โดยผู้ออกใบกำกับการ ขนส่งต้องลงลายมือชื่อกำกับไว้ด้วย (2) รายการในใบกำกับการขนส่งอย่างน้อย ต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้ การขนส่งก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG)
การขนส่งก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ต่อ - ชื่อผู้ค้าน้ำมันที่จ่าย LPG และสถานที่จ่าย LPG - วันที่และเลขที่ออกใบกำกับการขนส่ง LPG - ชื่อผู้รับ LPG และสถานที่ส่งมอบ - ชื่อและที่อยู่ของผู้ขนส่ง - เลขทะเบียนยานพาหนะที่ใช้ขนส่ง ในกรณีขนส่ง โดยทางเรือให้ระบุชื่อเรือ - วันและเวลาที่ออกเดินทางจากสถานที่จ่าย LPG ต้นทาง และประมาณวันและเวลาที่ถึงปลายทาง - ปริมาณ LPG ที่ขนส่ง - ระบุหมายเลขประจำตรา (SEAL) ที่ใช้ปิดผนึก ฝาท่อรับ และท่อจ่าย LPG ของยานพาหนะที่ขนส่งในแต่ละเที่ยว
การส่งออกก๊าซปิโตรเลียมเหลวการส่งออกก๊าซปิโตรเลียมเหลว • การส่งออกก๊าซปิโตรเลียมเหลว • ต้องปฏิบัติตามประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดเงื่อนไขในการ จำหน่ายก๊าซปิโตรเลียมเหลว ไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 • ผู้ส่งออกก๊าซปิโตรเลียมเหลว ต้องเป็นผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ.การค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 • กรณีส่งออกก๊าซบรรจุถังหุงต้มผู้ส่งออกต้องเป็นผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 ที่เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าที่ได้ประทับอยู่ที่ถังก๊าซหุงต้ม • ผู้ส่งออกก๊าซต้องขอหนังสือรับรองจากกรมธุรกิจพลังงานเพื่อแสดงต่อเจ้าพนักงานศุลกากรในการปล่อยสินค้า • การส่งออกก๊าซให้ส่งออกได้เฉพาะที่หรือด่านศุลกากร ซึ่งส่งของออกได้ทุกประเภทตามที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยศุลกากร กรณีผ่านเขตแดนทางบกให้ส่งออกได้ ณ จุดผ่านแดนถาวร เท่านั้น 26
ตัวอย่างหนังสือรับรองการส่งออกตัวอย่างหนังสือรับรองการส่งออก
การกำกับดูแลผู้ประกอบการค้า LPGตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 28
พระราชกำหนดแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2516 มาตรา 3 ...นายกรัฐมนตรีมีอำนาจออกคำสั่งเพื่อกำหนด มาตรการเกี่ยวกับการผลิต การจำหน่าย การ ขนส่ง การมีไว้ใน ครอบครอง การสำรอง การ ส่งออก และนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงทุกชนิด มาตรา 5 ให้นายกรัฐมนตรีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจาก นายก มีอำนาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่.... คำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 4/2547 เรื่องกำหนดมาตรการเพื่อการแก้ไขและป้องกันภาวะการ ขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง
สาระสำคัญของคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 4/2547 • โรงบรรจุก๊าซ ต้องขอรับเครื่องหมายประจำตัว และในการบรรจุก๊าซต้องปิดผนึกวาล์วถังก๊าซหุงต้มให้แน่นหนาด้วย Sealที่แสดงเครื่องหมายประจำโรงบรรจุ • ห้ามผู้ใดขายก๊าซหุงต้มที่ไม่ปิดผนึก Seal (ที่แสดงเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ) • ห้ามผู้ใดขายก๊าซที่ไม่ได้บรรจุในถังก๊าซหุงต้มให้แก่ โรงบรรจุก๊าซ • ห้ามผู้ใดขายก๊าซที่ไม่ได้บรรจุในถังก๊าซหุงต้มให้แก่ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ยกเว้นผู้ค้ามาตรา 7 • ห้ามมิให้ผู้ใดนำก๊าซที่บรรจุในถังก๊าซหุงต้มไปใช้กับยานพาหนะหรือถ่ายก๊าซออกจากถังก๊าซหุงต้มนอกสถานที่บรรจุก๊าซ
สาระสำคัญของประกาศกรมธุรกิจพลังงานสาระสำคัญของประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง ระเบียบอนุญาตให้ผู้ค้าน้ำมันตามาตรา 7 มอบหมายให้ผู้ค้าน้ำมัน มาตรา 7 รายอื่น หรือผู้บรรจุก๊าซรายใดเป็นผู้บรรจุก๊าซแทนฯ • หนังสืออนุญาต(แบบนพ.ก 3) มีอายุ 3 ปี • ให้แจ้งการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับชื่อสถานที่ตั้งตัวแทนค้าต่างหรือการยกเลิกการมอบหมายให้เป็นผู้ดำเนินการบรรจุก๊าซแทนภายใน 30 วันนับแต่วันเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก • ผู้บรรจุก๊าซต้องยื่นขอรับเครื่องหมายประจำตัว และในการบรรจุก๊าซต้องปิดผนึกลิ้นถังก๊าซหุงต้มด้วยอุปกรณ์ปิดผนึกลิ้น หรือ Seal ซึ่งแสดงเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซที่เห็นได้ชัดเจนและติดแน่น
สาระสำคัญของประกาศกรมธุรกิจพลังงาน (ต่อ) • ยื่นคำขอต่ออายุภายในสามสิบวันก่อนวันที่ • หนังสืออนุญาตหมดอายุ • เมื่อยื่นคำขอต่ออายุหนังสืออนุญาตแล้ว • ให้ดำเนินการต่อไปจนกว่าจะได้รับแจ้งการ • ไม่อนุญาต
สาระสำคัญของประกาศกรมธุรกิจพลังงาน (ต่อ) • อธิบดีกรมธุรกิจพลังงานจะสั่งพักใช้หรือเพิกถอน • ตามควรแก่กรณี ในกรณีโรงบรรจุ กระทำการฝ่าฝืน • กฎหมาย ดังนี้ • บรรจุก๊าซโดยไม่ปิดซีล • บรรจุก๊าซขาดน้ำหนัก • บรรจุก๊าซลงในถังที่ไม่ได้มาตรฐาน • บรรจุก๊าซข้ามยี่ห้อ • กรณีถูกสั่งเพิกถอนหนังสืออนุญาตแล้วจะไม่พิจารณา • ออกหนังสืออนุญาตให้จนกว่าจะพ้น 1 ปี ไปแล้ว
หลักเกณฑ์การสั่งพักใช้หรือเพิกถอนหลักเกณฑ์การสั่งพักใช้หรือเพิกถอน การอนุญาตให้บรรจุก๊าซแทน • กระทำผิดครั้งที่ 1 แจ้งเตือนภาคทัณฑ์ • กระทำผิดครั้งที่ 2 พักใช้หนังสืออนุอนุญาตมอบหมายบรรจุก๊าซแทนเป็นเวลา 1 เดือน • กระทำผิดครั้งที่ 3 เพิกถอนหนังสืออนุอนุญาตมอบหมายบรรจุก๊าซแทน การพิจารณาการกระทำผิดแต่ละครั้ง ไม่คำนึงว่าเป็นการกระทำผิดกรณีเดียวกันหรือไม่
ตัวอย่างเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซตัวอย่างเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ XXX
ตัวอย่างหนังสืออนุญาตให้มอบหมายให้ดำเนินการบรรจุก๊าซแทนตัวอย่างหนังสืออนุญาตให้มอบหมายให้ดำเนินการบรรจุก๊าซแทน
ระบบการค้าก๊าซหุงต้มตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 37
ผู้ประกอบการค้า LPG ที่เกี่ยวข้อง 1) ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 2) โรงบรรจุก๊าซ 3) ร้านจำหน่ายก๊าซหุงต้ม
หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจค้าก๊าซหุงต้ม(ต่อ)หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจค้าก๊าซหุงต้ม(ต่อ) ระบบการค้าก๊าซหุงต้มตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 ที่ประกอบการค้าก๊าซหุงต้ม เจ้าของถังก๊าซหุงต้ม และน้ำก๊าซ ว่าจ้างบรรจุ (ขออนุญาตต่อ ธพ.) บรรจุก๊าซเอง โรงบรรจุก๊าซตัวแทนค้าต่างของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 (ผู้รับจ้าง) โรงบรรจุก๊าซของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 (บรรจุก๊าซเอง) ขอรับเครื่องหมายประจำตัว ผู้บรรจุก๊าซจากอธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน ปิดผนึกลิ้น(Valve) ถังก๊าซหุงต้มด้วยอุปกรณ์ปิดผนึกลิ้น(Seal) ที่แสดงเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ ต้องซื้อและขายที่บรรจุถังก๊าซ หุงต้มที่ได้ปิดผนึกลิ้นด้วยอุปกรณ์ ปิดผนึกที่แสดงเครื่องหมาย ประจำตัวของผู้บรรจุก๊าซเท่านั้น ร้านจำหน่ายก๊าซหุงต้มและ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงที่ จำหน่ายก๊าซหุงต้ม ผู้บริโภค
ระบบการค้าตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 • ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 7 • การมอบหมายบรรจุก๊าซแทนต้องขออนุญาตต่อกรมธุรกิจพลังงาน • ต้องบรรจุก๊าซลงถังก๊าซหุงต้มที่แสดงเครื่องหมายของตน • โรงบรรจุก๊าซ • ต้องขอรับเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซต่อกรมธุรกิจพลังงาน • การบรรจุก๊าซหุงต้มต้องปิดซีลที่แสดงเครื่องหมายประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ • ไม่รับก๊าซจากผู้ใดนอกจากผู้ค้ามาตรา 7 ที่ได้รับอนุญาตให้มอบหมาย • การบรรจุก๊าซแทน • ไม่นำน้ำก๊าซที่ได้รับจากการเป็นผู้บรรจุก๊าซแทนไปจำหน่ายให้ผู้ใด • โดยไม่บรรจุลงถังก๊าซหุงต้ม
ระบบการค้า LPG ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2547 • สถานีบริการ • ไม่ซื้อน้ำก๊าซจากผู้ใดนอกจากผู้ค้าตามมาตรา 7 • ไม่บรรจุก๊าซลงในถังก๊าซหุงต้ม • ร้านจำหน่ายก๊าซ • ไม่จำหน่ายก๊าซหุงต้มซึ่งไม่ปิดซีลที่แสดงเครื่องหมาย • ประจำตัวผู้บรรจุก๊าซ
ผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจค้าก๊าซหุงต้มในปัจจุบันผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจค้าก๊าซหุงต้มในปัจจุบัน ผู้ค้ามาตรา 7 ที่จำหน่ายก๊าซหุงต้ม มี 7 ราย ได้แก่ ยูนิคแก๊ส ปตท. สยามแก๊ส เวิลด์แก๊ส ปิคนิค แสงทองฯ เอ็น เอส แก๊ส 42
รายละเอียดจำนวนโรงบรรจุก๊าซของผู้ค้าตามมาตรา 7 หน่วย : ราย • สำนักบริการธุรกิจและการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง • วันที่ 30 พฤษภาคม 2554
ลักษณะความผิด และ บทกำหนดโทษ
ผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 11 (สถานีบริการ LPG)