100 likes | 182 Views
Pass: 5555555555. กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพและสุขภาพจิต. ๑.งานอนามัยแม่และเด็ก ๒.งานอนามัยวัยเรียนและวัยรุ่น ๓.งานวัยทำงาน ๔.งานวัยผู้สูงอายุ ๕.งานผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส ๖.งานสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย. ตัวชี้วัดกลุ่มเด็กและสตรี. สตรี. ๑.งานอนามัยแม่และเด็ก. สตรี.
E N D
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพและสุขภาพจิตกลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพและสุขภาพจิต ๑.งานอนามัยแม่และเด็ก ๒.งานอนามัยวัยเรียนและวัยรุ่น ๓.งานวัยทำงาน ๔.งานวัยผู้สูงอายุ ๕.งานผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส ๖.งานสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดกลุ่มเด็กและสตรีตัวชี้วัดกลุ่มเด็กและสตรี สตรี
๑.งานอนามัยแม่และเด็ก๑.งานอนามัยแม่และเด็ก สตรี • ANCคุณภาพ >๗๐ %(รพช./รพท.) • ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด<๒๕ : พัน • การเกิดมีชีพ๑,๐๐๐ คน (รพช./รพท.) • ภาวะตกเลือดหลังคลอด< ๕ %(รพช./รพท.) • ห้องคลอดคุณภาพ>๗๐ %(รพช./รพท.) • อัตราส่วนมารดาตาย< ๑๘ : การเกิดมีชีพ ๑๐๐,๐๐๐ คน
เด็กปฐมวัย -แรกเกิด-๖เดือนกินนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน ๖๐% (มี.ค.และ ก.ย.) -เด็ก ๐-๒ ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการ> ๘๐% และพัฒนาการ สมวัย>๘๕% -เด็ก ๐-๒ ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน > ๗๐% -เด็ก ๓-๕ ปีได้รับการตรวจพัฒนาการ> ๘๐% และพัฒนาการ สมวัย>๘๕% - เด็ก ๓-๕ ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ๗๐% -เด็ก ๓-๕ ปีมีพัฒนาการสมวัย ๘๕%
วัยเรียนและวัยรุ่น -เด็กวัยเรียน(๖-๑๒ ปี)มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ๗๐ % -นักเรียนเป็นโรคอ้วน< ๑๕ % -ตั้งครรภ์ในวัยเรียน ๑๕-๑๙ ปี ๕๐:๑,๐๐๐ คน -ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ(Psychosocail Clinic)๗๐%รพช./รพท. วัยทำงาน -หญิงวัยเจริญพันธ์(๑๕-๔๙ ปี) วางแผนครอบครัว ทุกประเภท ๘๐ %
ผู้สูงอายุและผู้พิการผู้สูงอายุและผู้พิการ • ได้รับการพัฒนาทางกายและใจ ๘๐% • ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดัน ๙๐% • ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการมากกว่า ๓๑% สุขภาพจิต -อำเภอมีทีมMCATT(Mental health Crisis Assessment and Treatment) ๘๐%
๑.โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว๑.โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทอง (ประเมินซ้ำ)รพ.ทรายมูล /รพ.มหาชนะชัย ๒.ตำบลสายใยรักแห่งครอบครัว ทุกอำเภอ ๓. ฝากครรภ์ก่อน๑๒ สัปดาห์ ๖๐ % ๔. ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ๙๐%(๖๐%) ๕. หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ๑๐๐ % ๖. หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ ๓ ครั้ง ๖๕ % ๗.พัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก
เกณฑ์รพ.สายใยรักฯ • อัตราขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดไม่เกิน ๒๕: พันการเกิดมีชีพ • อัตราทารกแรกเกิด นน.น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ไม่เกินร้อยละ ๗ • หรือลดลงจากข้อมูลเดิมปีละร้อยละ ๐.๕ • ๓. อัตราเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนร้อยละ ๖๐ หรือเพิ่ม • จาก ข้อมูลเดิมปีละร้อยละ ๒.๕ • ๔. อัตราทารกแรกเกิดถึง ๕ ปี มีพัฒนาการสมวัยมากกว่าร้อยละ ๘๕