320 likes | 1.12k Views
ปวดหัวไหล่ ทำไมต้องส่องกล้อง Why shoulder arthroscopy?. นายแพทย์ณัฐพร แสงเพชร หน่วยเวชศาสตร์การกีฬา ภาควิชาออร์โธปิดิคส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. กล้อง : อุปกรณ์สำหรับผ่าตัด. กล้อง. เครื่องปั่นเนื้อเยื่อ. ส่องกล้องอย่างไร. การวินิจฉัยกลุ่มอาการปวดไหล่. การตรวจร่างกาย
E N D
ปวดหัวไหล่ ทำไมต้องส่องกล้องWhy shoulder arthroscopy? นายแพทย์ณัฐพร แสงเพชร หน่วยเวชศาสตร์การกีฬา ภาควิชาออร์โธปิดิคส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
กล้อง: อุปกรณ์สำหรับผ่าตัด กล้อง เครื่องปั่นเนื้อเยื่อ
การวินิจฉัยกลุ่มอาการปวดไหล่การวินิจฉัยกลุ่มอาการปวดไหล่ • การตรวจร่างกาย • ตรวจคลื่นกล้ามเนื้อ • ตรวจเอกซเรย์ • ตรวจด้วยภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(MRI) อาจใช้การฉีดสีเข้าข้อให้มองเห็นชัดเจนขึ้น
อาการปวดหัวไหล่เกิดจากสาเหตุใดบ้างอาการปวดหัวไหล่เกิดจากสาเหตุใดบ้าง • กล้ามเนื้อรอบหัวไหล่อักเสบ • เส้นเอ็นยึดหัวไหล่อักเสบ • อาการปวดร้าวจากกระดูกต้นคอเสื่อม • เส้นประสาทโคนต้นคอถูกกดทับ (พบน้อยมาก) • เส้นประสาทโคนต้นคออักเสบ (พบน้อยมาก)
กล้ามเนื้อรอบหัวไหล่อักเสบ(Shoulder Myalgia / Myofascial Pain Shoulder)
เส้นเอ็นยึดหัวไหล่อักเสบ(Rotator Cuff Tendinitis) หลัง หน้า
อาการปวดร้าวจากกระดูกต้นคอเสื่อม(Cervical Spondylosis Radiculopathy/Neuropathy)
เส้นประสาทโคนต้นคอบาดเจ็บ(Brachial Plexus Injury/Entrapment)
เส้นประสาทโคนต้นคออักเสบ(Brachial Plexitis/Parsonage-Turner Syndrome)
โรคปวดไหล่ที่อาจรักษาได้ด้วยการผ่าตัดส่องกล้องโรคปวดไหล่ที่อาจรักษาได้ด้วยการผ่าตัดส่องกล้อง
เส้นเอ็นไบเซบส์อักเสบเรื้อรัง(Chronic Bicipital Tendinitis)
ช่องเหนือหัวไหล่ถูกกดทับและอักเสบ(Shoulder Impingement Syndrome)
เส้นเอ็นหมุนหัวไหล่ขาด(Rotator Cuff Tear)
เส้นเอ็นหมุนหัวไหล่อักเสบ มีหินปูนเกาะ(Rotator Cuff Calcific Tendinitis)
หัวไหล่หลุดซ้ำ หมอนรองเบ้า-เยื่อหุ้มไหล่ขาด(Recurrent Shoulder Dislocation, Capsulolabral Tear)
ข้อยึดไหล่กับกระดูกไหปลาร้าเคลื่อน(Advanced Stage Acromioclavicular Joint Dislocation)
ข้อไหล่เสื่อม มีเศษกระดูกอ่อนค้างในข้อ(Arthritic Shoulder with Loose Bodies Retention)
ทางเลือก...เมื่อมีปัญหาปวดไหล่ทางเลือก...เมื่อมีปัญหาปวดไหล่ มีหลายทางรักษา.......
วิธีการรักษา แบบไม่ผ่าตัด(Conservative Treatment) • แพทย์ส่วนใหญ่ จะแนะนำการรักษาแบบนี้ก่อน ยกเว้นบางกรณีที่ทราบแน่ชัดว่าไม่ได้ผล • ต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ป่วย แพทย์หลายแผนก และนักกายภาพบำบัด • อาจใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงหากนำไปผ่าตัด
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด(Surgical Treatment) • โดยทั่วไปแพทย์จะใช้วิธีการเปิดผ่าตัด ยังเป็นวิธีมาตรฐานในการรักษา
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด(Surgical Treatment) • มีวิวัฒนาการของการรักษาแบบการส่องกล้องในหลายหัตถการ ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นทางเลือกในการรักษาปัญหาของข้อต่างๆ ในร่างกาย
ข้อดี-เสียของการผ่าตัดส่องกล้องข้อดี-เสียของการผ่าตัดส่องกล้อง ข้อเสีย • ใช้อุปกรณ์มากกว่า • ค่าผ่าตัดแพงกว่า • บางครั้งใช้เวลาผ่าตัดนานกว่าเปิด • วิธีการผ่าตัดซับซ้อนกว่า ข้อดี • แผลเล็ก • เจ็บน้อยกว่า • ฟื้นตัวจากผ่าตัดเร็ว • มองเห็นบริเวณรอยโรคชัดเจนกว่า
แผลผ่าตัด: ส่องกล้องผ่าตัด
ไม่อยากผ่าตัดส่องกล้อง มีวิธีอื่นหรือไม่ • ปรับพฤติกรรมในการใช้ข้อไหล่ • ใช้ยาแก้ปวดหลายขนาน กายภาพบำบัด • ฉีดยาชา-ยาลดอักเสบเฉพาะที่ หวังผลบรรเทาอาการปวด และเพื่อให้ทำกายภาพบำบัด • หากไม่ดีขึ้น การผ่าตัด รวมถึงผ่าตัดส่องกล้องยังเป็นทางเลือกต่อไป