780 likes | 1.98k Views
หลักสูตรการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE Psychological First Aid : EASE. สารบัญ. การบรรยาย : ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ. แผนการสอนที่ 1 : หัวใจบริการ. โปรแกรมแบบประเมินเจตคติ. แผนการสอนที่ 2 : การเรียนรู้เรื่อง E A S E. VDO ต่อรอง.
E N D
หลักสูตรการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE Psychological First Aid : EASE
สารบัญ การบรรยาย :ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ แผนการสอนที่ 1: หัวใจบริการ โปรแกรมแบบประเมินเจตคติ แผนการสอนที่ 2: การเรียนรู้เรื่อง EASE VDO ต่อรอง แผนการสอนที่ 3: ปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบภาวะวิกฤต VDOช็อค VDOโกรธ VDO เศร้า แผนการสอนที่ 4: Engagement3ส จากใจถึงใจ แผนการสอนที่ 5: Assessmentฝึกทักษะ 3ป เพื่อการช่วยเหลือ แผนการสอนที่ 6: Skillsเรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมทักษะ VDO Skills แผนการสอนที่ 7: Educationตรวจสอบความต้องการ เติมเต็มความรู้ ติดตามต่อเนื่อง แผนการสอนที่ 8: ฝึกทักษะ EASEแบบบูรณาการ แผนการสอนที่ 9: การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ
PFA : การบรรยาย: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีพื้นฐานของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจเบื้องต้น ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง
ความหมายของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจความหมายของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ • Keywords: • การช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์รุนแรง • ตอบสนองความต้องการพื้นฐานเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดทางใจ • เสริมสร้างความรู้สึกปลอดภัย • ติดต่อเครือข่ายทางสังคม
จุดมุ่งหมายของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจจุดมุ่งหมายของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ • ลดความทุกข์ทางกายและจิตใจ • เพิ่มขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของผู้ประสบภัย • ช่วยให้ผู้ประสบภัยปรับตัวกลับสู่สภาพเดิม • ช่วยประสานผู้ประสบภัยกับครอบครัว ทรัพยากร และเครือข่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
คุณลักษณะสำคัญของผู้ปฐมพยาบาลด้านจิตใจคุณลักษณะสำคัญของผู้ปฐมพยาบาลด้านจิตใจ • ท่าทีสงบ • แสดงความอบอุ่น • ตระหนักรู้ถึงปัญหา • แสดง Empathy • แสดงออกถึงความจริงใจ • เสริมอำนาจในการควบคุมตนเองและสิ่งแวดล้อม
PFA : แผนการสอนที่ 3: ปฏิกิริยาด้านจิตใจของ ผู้ประสบภาวะวิกฤต วัตถุประสงค์: 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องปฏิกิริยาด้านจิตใจเมื่อประสบเหตุการณ์รุนแรง 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถประเมินปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์ได้ถูกต้อง 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีแนวทางในการช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง
ปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต ด้านร่างกาย อ่อนเพลีย หน้ามืด ปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต ด้านพฤติกรรม ตกใจตื่น ฝันร้าย แยกตัว ด้านการรับรู้ มึนงง สับสน นึกถึง ภาพความรุนแรง โกรธ กลัว ด้านอารมณ์ เศร้า
ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต • Shock & Denial • อาการ : มึนงง สับสน เศร้า โกรธ ใจสั่นมือสั่น หายใจถี่แรง ไม่ยอมรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต • Anger • อาการ : ตะโกนด่า เดินกระวนกระวาย กำมือ ขบกราม ตาขวาง มือปากสั่น
ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต • Bargaining • อาการ : ขอเข้าไปดูญาติในห้อง ICU พูดซ้ำๆ หรือพูดคาดคั้น
ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต • Depression • อาการ : ร้องไห้ ไม่พูดจา นั่งคอตก หมดเรี่ยวแรง
PFA : แผนการสอนที่ 4: : Engagement 3 ส จากใจถึงใจ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในการสังเกต สร้างสัมพันธภาพและ รู้วิธีสื่อสารกับผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง
: Engagement 3ส จากใจถึงใจ • ส1. การสังเกต ให้สังเกต • Nonverbal (สีหน้า แววตา การเคลื่อนไหวของร่างกาย) • Verbal (คำพูดสับสน ด่าทอ พูดวกวน ซ้ำๆ)
: Engagement 3ส จากใจถึงใจ • ส2. การสร้างสัมพันธภาพ
: Engagement 3ส จากใจถึงใจ • ส3. การสื่อสาร • พูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม เช่น • เริ่มสบตา มีท่าทีที่ผ่อนคลาย มีสติรู้ตัว รับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวชัดเจนขึ้น เริ่มมองเห็นคนที่อยู่ข้างเคียงเขา รับรู้ว่ารอบตัวเขาเป็นสถานที่ใด • เน้นถึงความรู้สึกขณะนั้น เช่น ถามว่า “ตอนนี้รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง” เพื่อให้พูดระบายความรู้สึก • ไม่ควรซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น นอกจากผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตอยากเล่า
: Engagement 3ส จากใจถึงใจ สีหน้า ท่าทาง ส1 สังเกต น้ำเสียง ด่าทอ สับสน ขอความช่วยเหลือ คำพูด เนื้อหาที่พูด
PFA : แผนการสอนที่ 5: : Assessment ฝึกทักษะ 3 ป เพื่อการช่วยเหลือ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในการประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย สภาพจิตใจ และสังคม ของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง
: Assessment 3ป เพื่อการช่วยเหลือ
: Assessment 3ป เพื่อการช่วยเหลือ • ข้อควรจำ • ตัวชี้วัดที่บ่งบอกว่าผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีอาการดีขึ้น คือ • รับฟังมากขึ้น ยอมรับข้อมูล • อารมณ์สงบ • ลดเงื่อนไขในการต่อรอง อาจต่อรองในสิ่งที่มีความเป็นไปได้มากขึ้น • หลังจากผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตยอมรับความจริง อาจมีอาการ หดหู่ ท้อแท้ ไม่มีกำลังใจ • หาสัญญาณของภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
PFA: แผนการสอนที่ 6: : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในการเรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวดทางใจ และเสริมสร้างทักษะการจัดการกับอารมณ์ ความรู้สึก และปัญหาเบื้องต้น ระยะเวลา: 2 ชั่วโมง
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ คุยและใช้เวลาคุยกับคนอื่นๆ เพื่อเป็นกำลังใจ ฝึกกำหนดลมหายใจ พักผ่อนเพียงพอ การสัมผัส ทำกิจกรรมที่มีความสุขหลีกเลี่ยงความหมกมุ่น เรียกขวัญคืนสติ Grounding พยายามทำกิจวัตรประจำวันตามปกติให้ได้มากที่สุด แตกต่างจากการนวดทั่วไป ช่วยเรียกสติกลับคืนมา เพิ่มความรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย การนวดสัมผัส จัดตารางกิจกรรมที่มีความสุข การนวดกดจุด รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ทุกมื้อ ใช้วิธีคลายกล้ามเนื้อ วิธีคลายเครียด ใช้วิธีพูดกับตัวเองให้สงบ เสริมสร้างทักษะ หาที่ปรึกษา จดบันทึกลงในสมุด การเล่นดนตรีที่ชอบ การฟังเพลง/ร้องเพลง การดูโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ ฟังอย่างใส่ใจ การสะท้อนความรู้สึก ลดความเจ็บปวดทางใจ ทำงานอดิเรกที่ตนเองสนใจ การเงียบ การพบปะสังสรรค์ การทวนซ้ำ การเล่นกีฬา และบริหารร่างกาย การออกกำลังกาย แบบแอโรบิค (AROBIC EXERCISE) การสร้างอารมณ์ขัน
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ • สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง • ดื่มสุราเพื่อคลายทุกข์ • รับประทานอาหารมากหรือน้อยเกินไป • สูบบุหรี่จัด • ใช้สารเสพติด • ทำกิจกรรมที่เสี่ยงและใช้ความเร็ว
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ Breathing Exercise Touching Skill การสัมผัส(Touching Skill) ไม่มีเทคนิคที่แน่นอนตายตัว การสัมผัสสื่อออกถึงความอบอุ่น ปลอดภัย มีที่พึ่ง การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing Exercise) - หายใจเข้านับเลข 1-4 หายใจออกนับ 1-4 - หายใจเข้านับว่า พุธ หายใจออกนับว่า โธ สำหรับผู้นับถือศาสนาพุทธ ส่วนผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม หายใจเข้านึกถึงคำว่า อัล หายใจออกนึกคำว่า ลอฮฺ
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 1. ให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตนั่งในท่าที่สบาย
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 2. ให้หายใจเข้าออกช้าๆ ผ่อนคลาย
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 3. บอกให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตพยายามมองรอบๆตัวพร้อมทั้ง กล่าวถึงสิ่งของรอบๆตัวออกมา 5 ชนิด โดยผู้ปฐมพยาบาลอาจ เริ่มทำให้ดูเป็นตัวอย่างเช่น “ตอนนี้ฉันเห็นพื้น ฉันเห็นรองเท้า ฉันเห็นโต๊ะสีแดง ฉันเห็นฯลฯ”
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 4. ต่อมาให้ผู้ประสบเหตุการณ์พยายามฟังเสียงต่างๆ ที่ได้ยิน เช่น “ตอนนี้ฉันได้ยินเสียงผู้หญิงคุยกัน ฉันได้ยินเสียงคนกำลังพิมพ์ดีด ฉันได้ยินเสียงประตูปิด”
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 5. ให้หายใจเข้าออกช้าๆ ผ่อนคลาย
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 6. ให้ขั้นตอนนี้ให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตพยายามจับความรู้สึก ของตนเองที่เกิดขึ้นในขณะนั้น เช่น - ฉันรู้สึกว่าตอนนี้ฉันนั่งอยู่บนเก้าอี้นุ่มๆ - ฉันรู้สึกถึงนิ้วหัวแม่เท้าของฉันที่อยู่ในรองเท้า - ฉันรู้สึกว่ามีลมพัดเบาๆโชยมาใส่หน้า - ฉันรู้สึกว่าริมฝีปากทั้งสองของฉันแนบชิดติดกัน 7. ให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตหายใจเข้าออกช้าๆ ผ่อนคลายไปเรื่อยๆ
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดสัมผัส 1. จัดให้นั่งให้ศีรษะพิงพนักเพื่อผ่อนคลาย หรือ นอนในท่าที่สบายตามความเหมาะสม
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดสัมผัส 2. เริ่มจากการนวดเบาๆ (เหมือนการนวดหน้า) ลูบไล้ไปมาบริเวณหน้า คาง หน้าผาก แก้ม 3. ให้นวดอย่างต่อเนื่อง ห้ามยกมือออกจากบริเวณที่นวด เพื่อเสริมสร้างความรู้สึกอบอุ่นปลอดภัย
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดสัมผัส 4. ขณะนวดสัมผัส ให้ผู้ถูกนวดใจจดจ่ออยู่กับ บริเวณที่ถูกนวดและตามการสัมผัสที่รู้สึกไปเรื่อยๆ
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดกดจุด 1. จุดระหว่างคิ้ว: ใช้ปลายนิ้วชี้หรือนิ้วกลางกดกลางระหว่างคิ้ว 3-5 ครั้ง 2. จุดใต้หัวคิ้ว :ใช้นิ้วชี้หรือนิ้วกลางกดจุดใต้หัวคิ้วทั้ง 2 ข้างพร้อมๆกัน 3-5 ครั้ง
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดกดจุด บริเวณด้านคอ : ประสานมือเข้าด้วยกันบริเวณท้ายทอยโดยเริ่มจากโคนผมลงมาจนถึง ช่วงต่อบริเวณต้นคอกับบ่า ทำซ้ำ 3-5 ครั้ง จุดขอบกระดูกท้ายหลัง: มี 2 วิธี 1. นวดจุดกลาง โดยใช้นิ้วหัวแม่มือด้านที่ถนัด กดลงบนจุดกลาง 3-5 ครั้ง 2. นวดจุดด้านข้าง โดยประสานมือเข้าด้วยกันบริเวณท้ายคอ ใช้นิ้วหัวแม่มือ 2 ข้าง กดลงบน 2 จุดด้านข้างพร้อมกัน 3-5 ครั้ง
: Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดกดจุด บริเวณบ่า : 1. ใช้นิ้วชี้ นิ้วนางของมือซ้าย กดและบีบบริเวณจุดตรงบ่าขวา 3-5 ครั้ง 2. ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลางของมือขวากดและบีบบริเวณจุดตรงบ่าซ้าย 3-5 ครั้ง บริเวณไหล่ด้านหลัง : 1. ใช้มือขวาสอดใต้รักแร้ และใช้นิ้วชี้หรือนิ้วกลางกดจุดด้านหลังรักแร้ซ้าย แล้วใช้มือซ้ายกดจุดหลังรักแร้ขวา ทำซ้ำ 3-5 ครั้ง 2. ใช้มือขวาเอื้อมข้ามบ่าซ้ายมากดจุดบริเวณด้านบน และกลางของกระดูกสะบักหลังด้านซ้าย และใช้มือซ้าย กดจุดด้านหลังสะบักขวา ถ้านวดด้วยตัวเองไม่ถนัด อาจต้องให้ผู้อื่นนวดให้แทน ทำซ้ำ 3-5 ครั้ง
PFA : แผนการสอนที่ 7: : Education ตรวจสอบความต้องการ เติมเต็มความรู้ ติดตามต่อเนื่อง วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการตรวจสอบ สำรวจความต้องการ ทักษะการให้สุขภาพจิตศึกษา และการติดตามผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง
: Education ตรวจสอบความต้องการ เติมเต็มความรู้ ติดตามต่อเนื่อง สัมพันธภาพกับลูกวัยรุ่น เศรษฐกิจ ปัญหาพฤติกรรมเด็ก ตรวจสอบความต้องการ ปัญหาในครอบครัว ความเจ็บป่วยทางกาย ปัญหาสัมพันธภาพกับเพื่อนบ้าน คลายกล้ามเนื้อ ฝึกสมาธิ เยี่ยมบ้าน วิธีคลายเครียดของผู้ใหญ่ ออกกำลังกาย นัดหมายมาพบที่ สถานบริการสาธารณสุข ฟังเพลง ความเครียด ติดตามต่อเนื่อง เติมเต็มความรู้ การฝึกหายใจ วิธีคลายเครียดของเด็ก การโทรศัพท์ติดตามผล การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ภาครัฐ แหล่งช่วยเหลือด้านต่างๆ ภาคเอกชน
PFA : แผนการสอนที่ 9: การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ วัตถุประสงค์: 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถดูแลจิตใจตนเองได้ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถสังเกต และประเมิน ตนเอง และ เพื่อนร่วมงานได้ 3. มีแนวทางในการผ่อนคลายความเครียด ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง
การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือการดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ • ความเครียดของผู้ช่วยเหลือ • ด้านอารมณ์ • ด้านความคิด • ด้านร่างกาย • ด้านพฤติกรรม
การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือการดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ • เทคนิคการจัดการความเครียด • การฝึกหายใจ • การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ • การจินตนาการ • Safe place
การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือการดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ การฝึกหายใจ การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เทคนิค การจินตนาการ Safe place การจัดการความเครียด นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารให้เพียงพอ มีการร่วมกลุ่มปรึกษาหารือ เปลี่ยนไปทำงานอย่างอื่นบ้าง รับฟังความรู้สึกซึ่งกันและกัน การดูแลจิตใจเพื่อนร่วมงาน ออกกำลังกายเบาๆ สังเกต ใส่ใจ ในการเปลี่ยนแปลงของเพื่อน ทำในสิ่งที่สร้างความเพลิดเพลิน ทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน วิธีการดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ให้ความสำคัญกับสิ่งที่คุณทำได้ดี เรียนรู้จากสิ่งที่ผิดพลาด เล่าเรื่องขำขันสู่กันฟัง สวดมนต์ ทำสมาธิ / ละหมาด ถามความรู้สึก และช่วยเหลือทางจิตใจระหว่างคนในทีม