1 / 46

Malaria

Malaria. ผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติ ปีบประมาณ 2543-2551. Fiscal Year. จำนวนผู้ป่วยมาลาเรียรายเดือน (ผู้ป่วยไทย) ปีงบประมาณ 2547-2551. จำนวนผู้ป่วย (ราย). รวม. 30,264. 27,381. 30,338. 35,587. 26,064. เดือน. N. ลาว. 4. 1. เมียนมาร์. 6. กัมพูชา. 9. 10. 7. 5. 8. 2. 3.

Download Presentation

Malaria

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Malaria

  2. ผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติ ปีบประมาณ 2543-2551 Fiscal Year

  3. จำนวนผู้ป่วยมาลาเรียรายเดือน (ผู้ป่วยไทย) ปีงบประมาณ 2547-2551 จำนวนผู้ป่วย (ราย) รวม 30,264 27,381 30,338 35,587 26,064 เดือน

  4. N ลาว 4 1 เมียนมาร์ 6 กัมพูชา 9 10 7 5 8 2 3 มาเลเซีย แสดงสิบจังหวัดแรกที่พบผู้มาลาเรียสูง ในประเทศไทย ปีงบประมาณ 2551 • ตาก (5,386) • ยะลา (5,330) • นราธิวาส (1,690) • แม่ฮ่องสอน (1,450) • ระนอง (1,280) • กาญจนบุรี (1,218) • ชุมพร (1,167) • สงขลา (1,047) • จันทบุรี (925) • ประจวบคีรีขันธ์ (891)

  5. อัตราตายด้วยไข้มาลาเรีย ปี พ.ศ. 2498-2550 อัตราตายต่อประชากรแสนคน 0.15 ปี แหล่งข้อมูล: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  6. สัดส่วนผู้ป่วยไทย 30 จังหวัดชายแดนที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ 2551 ไทย-เมียนมาร์ (54.6 %) ไทย-มาเลเซีย (34.9 %) ไทย-กัมพูชา (8.5 %) ไทย-ลาว (2.0 %) Source: Malaria Cluster, Department of Disease Control, MoPH

  7. ไทย-เมียนมาร์ (95.8 %) ไทย-มาเลเซีย (0.7 %) ไทย-ลาว (0.05 %) ไทย-กัมพูชา (3.5 %) สัดส่วนผู้ป่วยต่างชาติ 30 จังหวัดชายแดนที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ 2551 Source: Malaria Cluster, Department of Disease Control, MoPH

  8. จำนวนผู้ป่วยไทยและต่างชาติ ในจังหวัดชายแดนที่ตรวจพบ ปีงบประมาณ 2551 จำนวนผู้ป่วย

  9. อัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรีย (API) ปีงบประมาณ 2508-2551 อัตราป่วยต่อประชาการพันคน 0.41 ปีงบประมาณ

  10. จำนวนผู้ป่วยไทยและจำนวนผู้ติดเชื้อมาลาเรียชนิด P.falciparumและ P.vivax ปีงบประมาณ 2508-2551 จำนวนผู้ป่วย Fiscal Year

  11. อัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรีย (API), อัตราการตรวจโลหิต (ABER)และอัตราการพบเชื้อ (SPR) ปีงบประมาณ 2508-2551 ABER&SPR / 100 pop. API / 1,000 pop. ปีงบประมาณ

  12. ร้อยละ M MSP CHL QT M SP2 SP3 M+ATS ปีงบประมาณ สัดส่วนของเชื้อมาลาเรียและชนิดของยาต้านมาลาเรียที่ใช้รักษาปีงบประมาณ 2508-2551

  13. N ลาว เมียนมาร์ กัมพูชา มาเลเซีย แสดงจังหวัดควบคุมมาลาเรีย ที่มีตำบลพบผู้ป่วยมาลาเรีย ปี 2551 ตำบลพบไข้มาลาเรีย สูง 14 จ. ปานกลาง 4 จ. ต่ำ 4 จ. ต่ำมาก 25 จ. จังหวัดผสมผสานงาน 29 จ.

  14. ในประเทศไทยมียุงก้นปล่องที่เป็นพาหะหลักคือในประเทศไทยมียุงก้นปล่องที่เป็นพาหะหลักคือ • Anopheles dirus • ไวต่อต่อการแพร่เชื้อ แหล่งเพาะพันธุ์ แอ่ง ซอกหิน บริเวณน้ำตก • Anopheles minimus • พบได้ทั่วไป แหล่งเพาะพันธุ์ ลำธารเล็ก น้ำใสไหลเอื่อย • Anopheles maculatus • พบในสวนยางพาราและสวนผลไม้ แหล่งเพาะพันธุ์ ลำธารเล็ก ไหลเอื่อย • Anopheles aconitus • แหล่งเพาะพันธุ์ ในทุ่งนาข้าว • Anopheles epirotichus • ชายทะเล แหล่งเพาะพันธุ์ แอ่งน้ำขัง น้ำกร่อย • Anopheles pseudowillmori แหล่งเพาะพันธุ์ ลำธารเล็ก น้ำใสไหลเอื่อย

  15. ยุงก้นปล่อง

  16. Malaria เกิดจาก sporozoa ใน Genus Plasmodium เชื้อที่ก่อโรคในคนมี 4 species ได้แก่ • Plasmodium falciparum • P. vivax • P. malariae • P. ovale

  17. การติดต่อ • ยุงที่เป็นพาหะกัด • ได้รับเลือดจากผู้ป่วย • แม่สู่ลูก • เข็มฉีดยา

  18. อาการวิทยาและพยาธิวิทยาอาการวิทยาและพยาธิวิทยา • อาการจะแสดงเมื่อปรสิตเจริญแบ่งตัวในเม็ดเลือดแดงอย่างน้อยหนึ่งรอบ • ระยะฟักตัวประมาณ 7-10 วัน (P. malariaeหลายสัปดาห์) • อาการคล้ายกับไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ต่ำ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตัว • ต้องวินิจฉัยแยกจากโรคอื่น

  19. อาการโดยทั่วไป P. falciparum • อาจมีอาการกลับมาใหม่ใน 6 เดือน-1ปี • การกลับเป็นซ้ำ เกิดจากตัวเชื้อสามารถหลบภูมิคุ้มกันหรือดื้อยา (กลับมาเร็วกว่า) • มีอาการจับไข้วันเว้นวัน • ทำให้เกิดมาลาเรียขึ้นสมอง (cerebral malaria) • เกิดภาวะแทรกซ้อนได้มาก เช่นปัสสาวะดำ น้ำตาลในเลือดต่ำ • มักเสียชีวิตจากภาวะปอดบวมและไตวาย

  20. อาการโดยทั่วไป P. vivaxและ P. ovale • มี relapse เนื่องจาก hypnozoite ในตับ • เชื้อแบ่งตัวทุก 48 ชั่วโมง ดังนั้นอาการไข้จับสั่นจะเกิดวันเว้นวัน เรียกว่า benign tertian malaria

  21. อาการโดยทั่วไป • ผู้ป่วยP. vivax, P. ovaleและP. malariaeมักจะไม่เสียชีวิต ยกเว้นร่างกายอ่อนแอ • P. falciparumเป็นเชื้อที่รุนแรง (malignant tertian malaria) และเกิดการเสียชีวิต เนื่องจาก เชื้อสามารถเข้าไปในเม็ดเลือดแดงได้ทุกระยะ

  22. วงจรชีวิต • ต้องการโฮสต์ 2 ชนิด คือ คนและยุงก้นปล่องตัวเมีย (female Anopheles) • การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เกิดในเม็ดเลือดแดงและเซลล์ตับของคน • การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เกิดในกระเพาะอาหารของยุง

  23. ระยะในคน (Human phase or asexual phase) Pre-erythrocytic stage • เริ่มจากยุงก้นปล่องตัวเมียที่มีเชื้อระยะ sporozoite มากัดคน • Sporozoite เข้าไปอยู่ในเซลล์ตับ • มีการแบ่งตัวแบบ schizogony ในเซลล์ตับ จนถึงระยะ merozoite • Merozoite ในเซลล์ตับจะแตกออก และเข้าสู่เม็ดเลือดแดง

  24. Human phase (ต่อ) Erythrocytic cycle • ช่วงแรกที่เข้าสู่เม็ดเลือดแดง เชื้อจะมีรูปร่างเป็น ring form และยังไม่มีการแบ่งตัว ก่อนทีจะเจริญต่อไปและเปลี่ยนรูปร่าง • ช่วงที่ยังไม่มีการแบ่งตัวเรียกว่า ระยะ trophozoite

  25. Human phase (ต่อ) • เริ่มมีการแบ่งนิวเคลียสแบบ schizogony เป็นระยะ schizont • จำนวนนิวเคลียสสุดท้าย เป็นจำนวนเฉพาะสำหรับเชื้อแต่ละชนิด

  26. P. falciparum • เจาะเลือดมักตรวจพบแต่ระยะ ring form และ gametocyte • ถ้ามีการติดเชื้อรุนแรงอาจพบ schizont • Ring form; มีขนาดเล็ก รูปวงแหวน และมักจะพบมีหลายตัวอาจจะมี chromatin dot 2 อัน

  27. P. Falciparum; schizont • มี 18-24 ตัว • ขนาดของเม็ดเลือดแดงปกติ

  28. falciparum

  29. P. Falciparum ; gametocyte • มีรูปร่างคล้ายพระจันทร์เสี้ยว

  30. Human phase (ต่อ) • Ring form บางตัว จะไม่เจริญจนเป็น merozoite แต่จะเจริญเป็น gametocyte เพศผู้และเพศเมีย • Gametocyte ทำให้เกิดการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่น

  31. Exo-erythrocytic form (EE form) • เกิดจากการที่ระยะSporozoite ยังไม่หมดไปจากเซลล์ตับ แม้จะเข้าสู่เม็ดเลือดแดงแล้ว เรียกว่า hypnozoite • ทำให้เกิดอาการไข้กลับ (relapse) • พบเฉพาะใน P. vivaxและ P. ovale

  32. Conclusion of human phase • Pre-erythrocytic stage • Erythrocytic stage • ช่วงที่ทำให้เกิดอาการ • ช่วงที่ทำให้เกิดการแพร่เชื้อ (gametocyte) • Exo-erythrocytic stage (เฉพาะบาง species)

  33. ช่วง erythrocytic stage ของ P. falciparum

  34. Human phase Mosquito phase

  35. ระยะในยุง (Mosquito phase or sexual cycle) • ยุงกัดผู้ป่วยที่มีระยะ gametocyte ในเม็ดเลือด • จะเกิดการผสมกันระหว่าง gametocyte เพศผู้และเพศเมียที่กระเพาะอาหารของยุง • ตัวอ่อนจะไชทะละกระเพาะอาหารออกมา แบ่งตัวเป็น sporozotie มากมาย • Sporozoite เดินทางเข้าสู่ต่อมน้ำลาย พร้อมเข้าสู่คนต่อไป

  36. การวินิจฉัย • การซักประวัติ การเดินทางไปแหล่งที่มีการระบาด • การดูอาการ • เจาะเลือดเพื่อวินิจฉัยและแยกชนิด โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ • วิธีวินิจฉัยอื่นๆ ได้แก่ การตรวจ DNA, การตรวจทางวิทยาภูมิคุ้มกัน, การตรวจทางชีวเคมี

  37. การรักษา • การให้ยาขึ้นกับระยะของปรสิตที่พบในผู้ป่วย และชนิดของปรสิต • P. vivaxและ P. ovale ต้องให้ยาที่ทำลายระยะที่อยู่ในตับ • หากพบระยะ gametocyte ต้องให้ยาทำลายเพื่อยับยั้งการแพร่สู่ยุง • ดูลักษณะการดื้อยาของเชื้อในท้องถิ่น

  38. ปัจจัยของยุงพาหะที่มีผลต่อการแพร่เชื้อปัจจัยของยุงพาหะที่มีผลต่อการแพร่เชื้อ • สายพันธุ์และพันธุกรรม • ความหนาแน่นของยุงพาหะ • อายุขัยของยุง • นิสัยการหากินและเกาะพักของยุง - ชอบกินเลือดคน หรือ สัตว์ - ชอบหากินในบ้านหรือนอกบ้าน - ชอบเกาะพักที่ไหน • ระยะทางในการบิน • การทนและดื้อต่อสารเคมี

  39. การควบคุมโรค • ควบคุมยุงที่เป็นพาหะ • ลดการเพาะพันธุ์ยุง • การกำจัดลูกน้ำยุง • การกำจัดยุง • ลดการแพร่กระจายเชื้อ • ให้ยากำจัดระยะ gametocyte ในผู้ป่วย ได้แก่ primaquin • ให้ยากำจัดระยะ hypnozoite ได้แก่ primaquin

  40. การป้องกัน • ไม่เข้าไปในแหล่งที่มีการระบาด และไม่ควรค้างคืน • ป้องกันตัวเองไม่ให้ถูกยุงกัดโดย • นอนในมุ้ง • ใช้ยาทาป้องกันยุง • สวมเสื้อผ้าปกปิดร่างกายให้มิดชิด • ไม่ควรออกจากบ้านพักยามพลบค่ำ • เมื่อออกจากแหล่งระบาด ถ้ามีอาการไข้ภายใน 2 เดือนควรพบแพทย์

  41. จุดยาจุดไล่ยุง

  42. ทายา ไล่ยุง

More Related