1 / 27

การปฏิรูประบบสุขภาพ ระดับอำเภอ ( DHS)

การปฏิรูประบบสุขภาพ ระดับอำเภอ ( DHS). นวัตกรรมสังคม (Social Innovation) คืออะไร ?. แรงต้าน. โอกาส. มิติต่างๆของนวัตกรรมสังคม. ความคิด ใหม่. มิติต่างๆของนวัตกรรมสังคมในระบบสุขภาพอำเภอ. มิติทางการเมือง/เศรษฐกิจ/สังคม. ความพร้อมของทรัพยากร. 4. 3. 2. 1.

Download Presentation

การปฏิรูประบบสุขภาพ ระดับอำเภอ ( DHS)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิรูประบบสุขภาพ ระดับอำเภอ (DHS)

  2. นวัตกรรมสังคม (Social Innovation) คืออะไร ? แรงต้าน โอกาส

  3. มิติต่างๆของนวัตกรรมสังคม ความคิด ใหม่

  4. มิติต่างๆของนวัตกรรมสังคมในระบบสุขภาพอำเภอมิติต่างๆของนวัตกรรมสังคมในระบบสุขภาพอำเภอ มิติทางการเมือง/เศรษฐกิจ/สังคม ความพร้อมของทรัพยากร 4 3 2 1 การบูรณาการ การจัดการ ค่ากลาง

  5. กระบวนการสร้างนวัตกรรมสังคมกระบวนการสร้างนวัตกรรมสังคม

  6. คำแนะนำ • ควรปฏิรูปแนวคิดและวิธีวางแผนงานโครงการใหม่โดยใช้เทคนิคการบูรณาการ ปรับจาก Issue-based เป็น Activity-based projects เพื่อให้จำนวนโครงการลดลง จะเหมาะสมกับการ ถ่ายโอนให้ภาคประชาชนรับผิดชอบในอนาคต • ให้หน่วยงานระดับเขตเป็นศูนย์กลางการพัฒนาสุขภาพของกลุ่มวัยที่กำหนด ควรเริ่มจากกลุ่มวัย “สูงอายุ” เนื่องจากจังหวัด มีพื้นฐานและประสบการณ์การพัฒนาเรื่องนี้อยู่แล้ว

  7. กระบวนการเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพจากภาครัฐสู่ภาคประชาชน ความพร้อมของทรัพยากร เพื่อผลกระทบ(Impact) เพื่อประสิทธิภาพ Activity-based Issue-based ภาครัฐ ภาคประชาชน Innovate & Create Command & Control

  8. คำแนะนำ • วางแผนบูรณาการบทบาทระหว่างกรมต่างๆและสำนักงานปลัดกระทรวงฯ • มอบหมายหน่วยงานเขตต่างๆค้นหา “ค่ากลางของ ความสำเร็จ” ของโครงการผู้สูงอายุในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานนั้นๆ แล้วส่งมอบให้จังหวัดใช้เป็นแนวทางในการ กำหนดค่ากลางของจังหวัด • กำหนดบทบาทและบูรณาการงานของฝ่ายสนับสนุน • ให้ทุกจังหวัดกำหนดค่ากลางของโครงการสุขภาพผู้สูงอายุเป็นประเด็นบังคับ แล้วทำการปฏิรูปโครงการสำหรับผู้สูงอายุพร้อมกันทุกจังหวัดทุกพื้นที่

  9. การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จระดับเขตและผลที่ตามมาการกำหนดค่ากลางของความสำเร็จระดับเขตและผลที่ตามมา

  10. การบูรณาการประเด็นปัญหาการบูรณาการประเด็นปัญหา Spider-web Diagram บทบาทที่ต้องพัฒนาใหม่เพื่อผลกระทบที่ดีกว่า

  11. การกำหนดค่ากลางสำหรับโครงการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม 1.เฝ้าระวัง/คัดกรอง 2. มาตรการสังคม 3.สื่อสารเพื่อปรับพฤติกรรม 4.ปรับแผนงาน/โครงการ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม มาตรฐานวิชาการ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม นวัตกรรม ยังไม่มีค่ากลาง

  12. การสร้างโครงการแบบบูรณาการการสร้างโครงการแบบบูรณาการ บูรณาการงานใน 5 กิจกรรม สำคัญของ SRM กลุ่มงานใช้สร้างโครงการ บูรณาการงานใน 4 กิจกรรม สำคัญของ SRM

  13. คำแนะนำ • ปฏิรูปข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (Management Information) ระดับอำเภอ • เนื่องจากจะมีการบูรณาการงานระดับท้องถิ่น/ตำบล • จึงควรปฏิรูประบบการเก็บและรายงานข้อมูลใน • ระดับต่างๆให้สอดคล้อง • พื้นที่ใดที่เข้าโครงการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) ใหม่นี้ ให้ยกเว้นการทำและใช้รายงานข้อมูลที่กระทรวงฯกำหนดไว้เดิม แล้วใช้ระบบรายงาน ใหม่ตลอดทางจนถึงส่วนกลาง ส่วนพื้นที่ที่ยังไม่เข้าโครงการ ให้ใช้ระบบข้อมูลเดิม

  14. กระบวนการสร้างแผนตำบลโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกระบวนการสร้างแผนตำบลโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รพสต อสม ท้องถิ่น ท้องที่ กองทุน

  15. คำแนะนำ • เมื่อจัดการบูรณาการแล้ว ควรก้าวสู่การสร้างและจัดการนวัตกรรมสังคมโดยเร็ว • ตั้งคณะผู้จัดการนวัตกรรมสังคมทุกจังหวัด • ทำบัญชีนวัตกรรม เริ่มกระบวนการสร้างและใช้นวัตกรรม • เขตฯวางแผนสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมทั้ง 5 ขั้นตอน • ทำความตกลงกับ สปสช. เรื่องเกณฑ์การใช้เงิน PP และกองทุนฯในการสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมสังคม

  16. เรื่องของตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Key Result Indicator -KRI )แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลง (เราได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง) ใช้สำหรับการประเมินผล หรือการรายงานให้ผู้คุมนโยบายหรือผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งสังคมทั่วไปทราบ แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้มีหน้าที่บริหารจัดการเพราะไม่สามารถใช้ปรับทิศทางของงานได้เนื่องจากงานเสร็จสิ้นไปแล้ว • ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator-PI)แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ (เราต้องทำอะไรบ้าง) ใช้โดยองค์กรระดับกลางและระดับปฏิบัติการเพื่อควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือในการวางแผนการเงินและงบประมาณ รวมทั้งการประเมินหน่วยงาน • ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator- KPI)มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคตเท่านั้น ใช้สำหรับติดตามงาน และปรับทิศทางที่ต้องทำทันทีที่เกิดปัญหาต่องานที่เป็น “หัวใจของความสำเร็จ” (Critical Success Factor-CSF) นอกจากนี้ ยังใช้สำหรับกำหนดและติดตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า และต้องมีการติดตามดูความเคลื่อนไหวของตัวชี้วัดอย่างใกล้ชิดโดยผู้ปฏิบัติและผู้จัดการตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า

  17. ทางเดินของข้อมูลและตัวชี้วัดในระบบสุขภาพอำเภอทางเดินของข้อมูลและตัวชี้วัดในระบบสุขภาพอำเภอ ผู้ปฏิบัติใช้ ปรับปรุงงานตลอดเวลา ทุกเดือน ทุก 3 เดือน

  18. การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการในระดับอำเภอ / ตำบล ระดับ ผู้ปฏิบัติ (ท้องถิ่น/ตำบล) ระดับ ผู้จัดการ (อำเภอ/จังหวัด) PI/KPI ไปเขต/ส่วนกลาง PI/KPI จัดระดับโครงการที่ 1 และ 2 (Grading) ส่วนโครงการที่ 3 เพียงรายงานความก้าวหน้า

  19. การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการการวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ ในระดับจังหวัดกับส่วนกลาง ผู้บริหารระดับนโยบาย KRI ผู้บริหารระดับจังหวัด วิเคราะห์ทุก 3 เดือน ปรับกลยุทธ์ ฯลฯ ป้อนกลับและ ส่งต่อข้อมูล ทุก 3 เดือน สมรรถนะ แกนนำ

  20. กระบวนการจัดการตัวชี้วัดและการรายงานภายในจังหวัดกระบวนการจัดการตัวชี้วัดและการรายงานภายในจังหวัด

  21. กระบวนการจัดการนวัตกรรมสังคมกระบวนการจัดการนวัตกรรมสังคม แหล่งที่มาของนวัตกรรม การสร้างนวัตกรรมสังคม การจัดการค่ากลาง การ บูรณาการ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์งาน ของโครงการ บัญชี นวัตกรรม การปฏิรูปโครงการ กระบวนการถ่ายทอด นวัตกรรมต่อเนื่อง การวิจัยพัฒนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ กระบวนการ เทคโนโลยี ระยะสั้น การพัฒนาคน ระยะกลาง การ สนับสนุน การให้รางวัล/ยอมรับ จัดการความคิดสร้างสรรค์

  22. การสนับสนุนนวัตกรรมสังคมการสนับสนุนนวัตกรรมสังคม สนับสนุนให้ประชาชนคิด ส่งเสริมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ สร้างเครือข่าย on-line จัดนิทรรศการ จดหมายข่าว ฯลฯ พิจารณาองค์กรนอกกระทรวงสธ.ด้วย ความสมดุลระหว่างโอกาส/ความเสี่ยง ใช้วิธีการของ SRM กำหนดKPI สำหรับประชาชนใช้ พิจารณาแหล่งสนับสนุนนอกงบประมาณด้วย

  23. การติดตามและประเมินผล ประเมินผล Evaluate ติดตาม Monitor ติดตามและประเมินผล Monitor & Evaluate

  24. คำแนะนำ • ควรเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการโครงการแบบบูรณาการให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 1. ใช้การเรียนการสอนโดยฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง เมื่อมีการจัดประชุมปฏิบัติการค้นหาค่ากลางของ ความสำเร็จระดับเขต 2. ใช้วิทยากรที่มีอยู่ในระดับเขตเป็นหลัก เสริมด้วย วิทยากรกลาง (ถ้าจำเป็น)

  25. คำแนะนำ • บูรณาการบทบาทกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ทำความตกลงในระดับส่วนกลางเกี่ยวกับความร่วมมือของ อปท.กับหน่วยงานสาธารณสุขในประเด็นการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการสนับสนุนนวัตกรรมสังคม • แต่งตั้งนายก อปท. หรือผู้แทนเข้าร่วมเป็น คปสอ.ระดับอำเภอ • มอบบทบาทการพัฒนาส่วนสภาวะแวดล้อมของกลุ่มวัยฯให้ อปท. โดยใช้บัญชีค่ากลางสำหรับโครงการสุขภาพฯที่ สสจ. กำหนดชุดเดียวกับ รพสต.และกองทุนฯ • วางระบบข้อมูลที่ใช้ร่วมกันได้ระหว่าง อปท. กับ สธ.

  26. คำแนะนำ • ปฏิรูปข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (Management Information) ระดับอำเภอ • เนื่องจากจะมีการบูรณาการงานระดับท้องถิ่น/ตำบล • จึงควรปฏิรูประบบการเก็บและรายงานข้อมูลใน • ระดับต่างๆให้สอดคล้อง • พื้นที่ใดที่เข้าโครงการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) ใหม่นี้ ให้ยกเว้นการทำและใช้รายงานข้อมูลที่กระทรวงฯกำหนดไว้เดิม แล้วใช้ระบบรายงาน ใหม่ตลอดทางจนถึงส่วนกลาง ส่วนพื้นที่ที่ยังไม่เข้าโครงการ ให้ใช้ระบบข้อมูลเดิม

  27. ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.amornsrm.net ขอขอบคุณ

More Related