490 likes | 1.64k Views
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก ( Wholesaling and Retailing ). วัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถอธิบายบทบาทของการค้าส่งและการค้าปลีกในช่องทางการกระจายสินค้า เพื่อให้เข้าใจการจัดประเภทของการค้าส่งและการค้าปลีก. Producer. Wholesaler. Retailer. Consumer. การค้าส่ง (Wholesaling).
E N D
บทที่ 13การค้าส่งและการค้าปลีก(Wholesaling and Retailing) วัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถอธิบายบทบาทของการค้าส่งและการค้าปลีกในช่องทางการกระจายสินค้า เพื่อให้เข้าใจการจัดประเภทของการค้าส่งและการค้าปลีก
Producer Wholesaler Retailer Consumer การค้าส่ง (Wholesaling) • กิจกรรมที่เกี่ยวกับบุคคลหรือสถาบันที่จำหน่ายสินค้าให้กับผู้ขายต่อ (Reseller) และ/หรือ ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม (Industrial Buyer)
หน้าที่ของผู้ค้าส่ง • การซื้อ การขาย • การคลังสินค้า การขนส่งสินค้า • การจัดมาตรฐานและระดับของสินค้า • การเงิน การเสี่ยงภัย • การจัดหาข้อมูลทางการตลาด • การส่งเสริมการตลาด การให้คำแนะนำแก่ผู้ค้าปลีก
พ่อค้าส่ง (Merchant Wholesaler) ร้านสาขาของผู้ผลิต (Sales Branch) ตัวแทนคนกลาง (Agent Middleman) ประเภทของการค้าส่ง
1. พ่อค้าส่ง(Merchant Wholesaler) • มีกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้า มีการแบ่งประเภทย่อย 2 แบบ • แบ่งตามสินค้าที่ขาย • General Merchandise Wholesaler • Single Line Wholesaler • Specialty Wholesaler • แบ่งตามวิธีการดำเนินงาน • Full Service Wholesaler • Limited Service Wholesaler
2. ตัวแทนคนกลาง(Agent Middlemen) • ไม่มีกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้า • ได้รับค่าตอบแทนเป็นค่านายหน้า ค่าธรรมเนียม ฯลฯ • Broker • Commission Merchant • Manufacturer’s Agent • Selling Agent • Resident Buyers • Auction Company
3. ร้านค้าส่งที่เป็นสาขาของผู้ผลิต(Sales Branches) • ดำเนินการโดยผู้ผลิตเอง • ตั้งเป็นสาขาย่อย ๆ ในแต่ละเขตการขาย เพื่อขายและส่งสินค้าให้พ่อค้าปลีก
Producer Wholesaler Retailer Consumer การค้าปลีก (Retailing) • กิจกรรมที่เกี่ยวกับการจำหน่ายสินค้าหรือให้บริการโดยตรงแก่ผู้บริโภคคนสุดท้าย เพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนตัว ไม่ใช่เพื่อธุรกิจ
ประเภทของการค้าปลีก • การค้าปลีกแบบมีร้านค้า • แบ่งตามบริการที่มีให้ลูกค้า • แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่าย • แบ่งตามความสำคัญต่อราคา • แบ่งตามการควบคุมกิจการ • แบ่งตามที่ตั้งของร้านค้า • การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า(Store Retailing) • แบ่งตามบริการที่มีให้ลูกค้า • Self Service Retailer • Limited Service Retailer • Full Service Retailer
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า(Store Retailing) • แบ่งตามบริการสายผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่าย • Specialty Store (Category Killer) • Department Store • Convenience Store • Supermarket • Superstore • Combination Store • Hypermarket • Service Business
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า(Store Retailing) • แบ่งตามความสำคัญต่อราคา • Discount Store • Off-price Retailer • Factory Outlet • Independent Off-price Retailer • Warehouse Club • Catalog Showroom
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า(Store Retailing) • แบ่งตามการควบคุมกิจการ • Independent Store • Corporate Chain Store • Consumer Cooperative • Franchise System • Merchandising Conglomerate
1. การค้าปลีกแบบมีร้านค้า(Store Retailing) • แบ่งตามที่ตั้งร้านค้า • Central Business District • Shopping Center • Regional • Community • Neighborhood
2. การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า(Non-Store Retailing) • เน้นการเข้าถึงผู้บริโภคโดยตรงผ่านสื่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ • Direct Marketing • Direct Mail and Catalog Marketing • Telemarketing • Television Marketing • Electronic Shopping • Direct Selling (Door-to-door retailing) • Automatic Vending
Retailer อนาคตการค้าปลีก • ร้านค้าปลีกมีขนาดใหญ่ขึ้น (Super Retailer) • มีการแสวงหาพันธมิตรทางการค้ามากขึ้น • ห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ จะมีการให้บริการค้าปลีกหลากหลายรูปแบบมากขึ้น • มีการจำหน่ายสินค้า Multipack และ House Brand มากขึ้น • มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการค้าปลีก เพื่อให้มีการบริหารร้านค้าอย่างมีประสิทธิภาพ
Wholesaler อนาคตการค้าส่ง • การค้าส่งขนาดเล็กมีแนวโน้มลดลง เนื่องจาก • ผู้ค้าปลีกมีขนาดใหญ่ขึ้น • ผู้ค้าปลีกมีระบบการค้าที่ทันสมัย และมีความร่วมมือระหว่างกัน • การค้าส่งขนาดใหญ่จะอยู่ในรูปแบบตัวแทนคนกลาง หรือสาขาของผู้ผลิตเอง
บทที่ 13การค้าส่งและการค้าปลีก(Wholesaling and Retailing) วัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถอธิบายบทบาทของการค้าส่งและการค้าปลีกในช่องทางการกระจายสินค้า เพื่อให้เข้าใจการจัดประเภทของการค้าส่งและการค้าปลีก