1.17k likes | 3.44k Views
การบริหารธุรกิจ SMEs. บทที่ 1 การบริหารจัดการ SMEs บทที่ 2 การบริโภค บทที่ 3 การจัดการการผลิต บทที่ 4 การจัดการการตลาด. แนวข้อสอบ. 1. จงอธิบายความหมายการค้าปลีกขนาดย่อม ( Small and Midium Enterprises Retailing)
E N D
การบริหารธุรกิจ SMEs บทที่ 1 การบริหารจัดการ SMEs บทที่ 2 การบริโภค บทที่ 3 การจัดการการผลิต บทที่ 4 การจัดการการตลาด
แนวข้อสอบ • 1. จงอธิบายความหมายการค้าปลีกขนาดย่อม (Small and Midium Enterprises Retailing) • ตอบ หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขายสินค้าหรือบริการ โดยตรงแก่ผู้บริโภคคนสุดท้าย ในรูปของธุรกิจขนาดย่อม
ข้อ 2 • ถาม จงบอกความสำคัญที่ธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อมมีต่อระบบเศรษฐกิจขนาดย่อม มาให้เข้าใจ • ตอบ1. ช่วยสร้างงาน 2. สร้างมูลค่าเพิ่มกับวัตถุดิบ 3. สร้างเงินตราต่างประเทศ
ข้อ 3 จงกล่าวถึงปัญหาและข้อจำกัดในภาพรวมด้านการตลาดของการค้าปลีกขนาดย่อม • ตอบ 1. ปัญหาด้านการตลาด 2. ขาดแคลนเงินทุน 3. ปัญหาด้านแรงงาน 4. การขนส่งล่าช้า
ข้อ 4 จงกล่าวถึงปัญหาและข้อจำกัดในภาพรวมด้านการขาดแคลนเงินทุนของ ธุรกิจ SMEs • ตอบ ไม่สามารถผลิตสินค้าให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคได้
ข้อ 5 อธิบายวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ • ตอบ วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์มี 4 ขั้นตอน โดย ขั้นตอนที่ 1 แนะนำสินค้าใหม่เข้าสู่ตลาด เน้นการโฆษณาเพื่อให้รู้จักสินค้า ขั้นตอนที่ 2 เจริญเติบโต สินค้ามีลูกค้าซ้อบ้างแล้ว เน้นกระจายให้เข้าถึงลูกค้ามากขึ้น ขั้นตอนที่ 3 เติบโตเต็มที่ สินค้านั้นมีลูกค้ามาก และเริ่มเบื่อสินค้าแล้ว ต้องมีการปรับปรุงกลยุทธ์การตลาดใหม่ ขั้นตอนที่ 4 ตกต่ำ สินค้ามียอดขายที่ลดลงอย่างเห็นได้ชัด เจ้าของต้องเลือกว่า จะเก็บสินค้าไว้ หรือจะเปลี่ยนแปลงเพื่อนำเข้าสู่ตลาดใหม่อีกครั้ง
บทที่ 1 การบริหารจัดการธุรกิจ SMEs
SMEs หมายถึง “วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม” หรือ ย่อจาก Small and Medium Enterprises ครอบคลุมกิจการ 3 กลุ่ม 1. ธุรกิจการผลิต 2. ธุรกิจเหมืองแร่ ธุรกิจส่วนใหญ่จะมีตัวตน และมักถูกบริโภคในขณะ เดียวกับที่ผลิตขึ้นมา เช่น โรงพยาบาล โรงแรม ธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจค้าปลีก
ลักษณะของธุรกิจขนาดย่อมทั่วไปลักษณะของธุรกิจขนาดย่อมทั่วไป
ความสำคัญของธุรกิจขนาดย่อมต่อระบบเศรษฐกิจความสำคัญของธุรกิจขนาดย่อมต่อระบบเศรษฐกิจ
ประโยชน์ของธุรกิจขนาดย่อมประโยชน์ของธุรกิจขนาดย่อม
หลักการบริหารจัดการธุรกิจขนาดย่อมหลักการบริหารจัดการธุรกิจขนาดย่อม การจัดการ หมายถึง การจัดทรัพยากรการบริหารมาใช้ในการดำเนินการ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันประกอบไปด้วย กระบวนการวางแผน การจัดองค์กร การบริหารงานบุคคล การอำนวนการ และการควบคุม ให้สำเร็จลุล่วงไปอย่างราบรื่น เพื่อให้ธุรกิจบรรลุผลสำเร็จตามแผนงงานและโครงการที่วางไว้
การจัดการธุรกิจขนาดย่อม หมายถึง กระบวนการวางแผน การจัดองค์กร การบริหารงานด้านต่างๆ ของธุรกิจขนาดย่อมที่ดำเนินการ อันประกอบไปด้วยขั้นตอนแรกในการนำวัตถุดิบเข้ามา ผ่านขบวนการผลิตหรือขั้นตอนการบริการต่างๆออกมาเป็นสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน เป็นที่ถูกใจและประทับใจลูกค้า ผลลัพธ์
องค์ประกอบของการจัดการธุรกิจขนาดย่อมองค์ประกอบของการจัดการธุรกิจขนาดย่อม
ความสำคัญของการจัดการธุรกิจขนาดย่อมความสำคัญของการจัดการธุรกิจขนาดย่อม ผู้บริหาร/ผู้จัดการ เป็นผู้วางแผนนำทรัพยากรทั้ง 4 ไปใช้ (4 M) บริหาร/จัดการ Management
ปัจจัยเสริมความสำเร็จ 4 ประการ
ความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ SMEs • (Porter)
ปัญหา/ข้อจำกัด ของธุรกิจขนาดย่อม
บทที่ 2 การบริโภค
ปัจจัย • ที่มีอิทธิพล • ต่อ • พฤติกรรมผู้บริโภค
ลำดับขั้น ความต้องการ ของมนุษย์ (อับราฮัม มาสโลว์) (ปัจจัยภายใน)
บทที่ 3 การจัดการผลิต
บทที่ 4 การจัดการตลาด
ความหมายของการตลาด หมายถึง การเคลื่อนย้ายสินค้าหรือบริการ จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย โดยผ่านคนกลางหรือไม่ก็ได้ เพื่อตอบสนองความพอใจและความต้องการของลูกค้า โดยอาศัย กิจกรรมต่างๆ จากคำจำกัดความข้างต้น สามารถแยกพิจารณาถึงประเด็นสำคัญได้ดังนี้
เพื่อกระตุ้นในความคิดเท่านั้นเพื่อกระตุ้นในความคิดเท่านั้น ทำอย่างไรองค์กรจะบรรลุความได้เปรียบในการแข่งขันในระยะยาว