670 likes | 856 Views
การนิเทศบุคลากรอาจารย์ มหาวิทยาลัยเนชั่น วันที่ 22 กรกฎาคม 2555. โดย ผศ.ดร. พงษ์อินทร์ รักอริยะธรรม อธิการบดี. การบริหารจัดการวิชาการ มหาวิทยาลัยเนชั่น. โดย ผศ.ดร. พงษ์อินทร์ รักอริยะธรรม อธิการบดี. วันที่ 22 กรกฎาคม 2555. การจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป.
E N D
การนิเทศบุคลากรอาจารย์การนิเทศบุคลากรอาจารย์ มหาวิทยาลัยเนชั่น วันที่ 22 กรกฎาคม 2555 โดย ผศ.ดร. พงษ์อินทร์ รักอริยะธรรม อธิการบดี
การบริหารจัดการวิชาการการบริหารจัดการวิชาการ มหาวิทยาลัยเนชั่น โดย ผศ.ดร. พงษ์อินทร์ รักอริยะธรรม อธิการบดี วันที่ 22 กรกฎาคม 2555
การจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
การจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไปการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป • สอดคล้องกับ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548ที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด • สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 • สอดคล้องกับ เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2548 ข้อ 8.1 ของ สกอ. • มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่นและสังคม เป็นผู้ใฝ่รู้ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารความหมายได้ดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตและดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQF) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต (Learning Outcomes) • ด้านคุณธรรม จริยธรรม • ด้านความรู้ • ด้านทักษะทางปัญญา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตลักษณ์ มหาวิทยาลัยเนชั่น เอกลักษณ์ เรียนกับมืออาชีพ บัณฑิตจิตอาสา • English Skill • Professional Skill • Communication Skill
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เป้าหมายในเชิง Liberal Arts • มุ่งความเป็นอิสระทางวิชาการ ศิลปศาสตร์ ศิลปวิทยาศาสตร์
การดำเนินงานของหมวดวิชาศึกษาทั่วไปการดำเนินงานของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ปรับปรุงโครงสร้างและรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปของหลักสูตรระดับปริญญาตรีทุกหลักสูตร และให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้เรียนรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน 34 หน่วยกิต ? กำหนดหมวดวิชาศึกษาทั่วไปร่วมทุกสาขาวิชา
การเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์( 7 วิชา 14 หน่วยกิต)
กลุ่มวิชาภาษา ( 5 วิชา 11 หน่วยกิต)
กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ( 3 วิชา 6 หน่วยกิต)
กลุ่มวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม ( 3 วิชา 3 หน่วยกิต)
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQF) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต (Learning Outcomes) • ด้านคุณธรรม จริยธรรม • ด้านความรู้ • ด้านทักษะทางปัญญา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยเนชั่น(ตามประกาศ มาตรฐานผลการเรียนรู้กลาง ม.โยนก 2553) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต (Learning Outcomes) • ด้านคุณธรรม จริยธรรม 5 ข้อ • ด้านความรู้ 4 ข้อ • ด้านทักษะทางปัญญา 3 ข้อ • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4 ข้อ • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 ข้อ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1.มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม (เอกลักษณ์ : บัณฑิตจิตอาสา) 2.ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน(เอกลักษณ์ : บัณฑิตจิตอาสา) 3. มีภาวะความเป็นผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 4. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในศักดิ์ศรีและคุณค่าของความเป็นมนุษย์(อัตลักษณ์ : Communication Skills) 5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ด้านความรู้ 1.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่ สำคัญในสาขาวิชาและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง (เอกลักษณ์ : เรียนกับมืออาชีพ) 2. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชากับความรู้ในศาสตร์อื่นที่ เกี่ยวข้อง (เอกลักษณ์ : เรียนกับมืออาชีพ / อัตลักษณ์ : Professional Skills) 3. สามารถประยุกต์ความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ (อัตลักษณ์ : Professional Skills) 4. สามารถติดตามความเปลี่ยนแปลงทางวิชาการทั้งศาสตร์ในสาขาวิชาและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องรวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ได้
ด้านทักษะทางปัญญา 1.มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีวิจารณญาณหรือดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ (อัตลักษณ์:Professional Skills) 2.มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ และทฤษฎีต่างๆ ในการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (อัตลักษณ์:Professional Skills) 3.สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสถานการณ์
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1.มีความสามารถในการทำงานเป็นทีมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ(อัตลักษณ์:Communication Skills) 2.มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (เอกลักษณ์ : เรียนกับมืออาชีพ) 3.มีความสามารถในการปรับตัว ร่วมกิจกรรม และมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (อัตลักษณ์ : Communication Skills) 4.สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ได้
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.สามารถสื่อสารภาษาไทย ทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน การสรุปประเด็น และการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ (อัตลักษณ์ : Communication Skills) 2.สามารถเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอสารสนเทศ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ 3.สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติ หรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบฯ (Curriculum Mapping)
รายวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมรายวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม 1.กิจกรรมหลัก 2.กิจกรรมเลือก • กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 6 ชั่วโมง ส่งเสริมอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย อย่างน้อย 9 ชั่วโมง รวมอย่างน้อย 15 ชั่วโมง
กิจกรรมเลือก สืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น อย่างน้อย 3 ชั่วโมง หมวดสร้างเสริมสุขภาพกายและจิต อย่างน้อย 3 ชั่วโมง หมวดจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ ที่จัดโดยคณะ/สาขาวิชา อย่างน้อย 3 ชั่วโมง หมวดเสริมทักษะความสามารถทางด้านวิชาการที่จัดโดยคณะ/สาขาวิชา อย่างน้อย 3 ชั่วโมง หมวดนันทนาการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่จัดขึ้นโดยชมรม องค์กร สโมสรนักศึกษา อย่างน้อย 3 ชั่วโมง กิจกรรมอื่นๆ ที่ร่วมกับองค์กรภายนอกมหาวิทยาลัย และได้รับความเห็นชอบจากอธิการบดี อย่างน้อย 3 ชั่วโมง รวมอย่างน้อย 18 ชั่วโมง
การวัดและประเมินผลวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการวัดและประเมินผลวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม • การร่วมกิจกรรม คิดน้ำหนัก ร้อยละ 70 • การรายงาน คิดน้ำหนัก ร้อยละ 30 • ระดับผลการเรียน S คะแนน 80 – 100 หรือ U คะแนน 0 – 79
กิจกรรมการเรียนรู้กับมืออาชีพกิจกรรมการเรียนรู้กับมืออาชีพ
Report บันทึกการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม ชื่อนักศึกษา.......................รหัส............... กิจกรรม ....... กิจกรรมหลัก ....... กิจกรรมส่งเสริมเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ....... เรียนกับมืออาชีพ ....... บัณฑิตจิตอาสา ....... กิจกรรมส่งเสริมอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ....... English Skills ....... Professional Skills ....... Communication Skills ชื่อกิจกรรม/ โครงการ ............................................................................................................................. วัน – เวลาที่ดำเนินการทำกิจกรรม ....................................................................................................... สถานที่ดำเนินกิจกรรม .............................................................................................................................. ลักษณะการเข้าร่วมกิจกรรม 1. ผู้จัดหรือดำเนินกิจกรรม..........2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม..... ลักษณะกิจกรรม ...........................................................................................................................................................................
สรุปสาระความรู้ที่ได้สรุปสาระความรู้ที่ได้ ........................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................... สรุปความคิดเห็น/ความรู้สึก/ประสบการณ์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมหรือดำเนินกิจกรรม ........................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ/ ........................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (_______________________) ● ความรับผิดชอบหลัก นักศึกษา o ความรับผิดชอบรอง วันที่.....เดือน............ พ.ศ. ........ ลงชื่อ (_______________________) อาจารย์ที่ปรึกษา/รับผิดชอบโครงการ วันที่.....เดือน............ พ.ศ. ........
การพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ การจัดทำหลักสูตร (มคอ.๑ / มคอ.๒) มหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาหลักสูตร สาขาวิชา / คณะ คณะทำงานยกร่างหลักสูตร ของสาขาวิชา กรรมการพัฒนาหลักสูตร กรรมการบริหารคณะวิชา กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย กรรมการวิชาการประจำมหาวิทยาลัย ไม่อนุมัติ/ปรับแก้/นโยบายเปิดหลักสูตรใหม่ สภามหาวิทยาลัย อนุมัติ กรณีไม่มีสภาวิชาชีพ สภาวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
การจัดทำรายละเอียดกระบวนวิชา การรายงานผลกระบวนวิชา (มคอ.๓,๔,๕,๖)และรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร (มคอ.๗) สาขาวิชา มคอ. ๓, ๔ กระบวนการจัดการเรียนการสอน ปรับปรุงรายละเอียด มคอ.๓,๔ ทุกภาคการศึกษา นำไปใช้ในการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร ประเมินผล มคอ. ๕, ๖ ให้ทำภายใน ๓๐ วัน นับจากวันสุดท้ายของ การส่งผลการศึกษา มคอ. ๗ ให้ทำภายใน ๓๐ วัน นับจากวันสุดท้ายของ การส่งผลการศึกษา ทุกสิ้นปีการศึกษา หมายเหตุ:กรณีการเปิดสอนกระบวนวิชาใหม่ ให้จัดทำมคอ.๓/ มคอ.๔ ฉบับย่อ เพื่อเสนอมหาวิทยาลัยอนุมัติตามขั้นตอน
การปฏิบัติตามแบบ มคอ.1-7
ผู้ดำเนินการ กรรมการวิชาการคณะ ประกอบด้วย คณบดี หัวหน้าสาขา ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (เป็นอย่างน้อย) กรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประกอบด้วย หัวหน้าสาขา อาจารย์ประจำหลักสูตร และเป็นไปตาม เกณฑ์ TQF อาจารย์ผู้สอน หมายถึง อาจารย์ผู้รับผิดชอบประจำรายวิชา ที่มิใช่อาจารย์พิเศษ หมายเหตุ : สาขาวิชาที่เปิดสอนนอกที่ตั้ง ใช้กรรมการวิชาการชุดเดียวกับคณะที่สังกัด
มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขา สาขาวิชาต้องดำเนินงานตามที่ สกอ. ประกาศ • สกอ. ทำหน้าที่ • เป็นผู้ประสานให้คณาจารย์ในสาขาวิชาระหว่าง มหาวิทยาลัย ผู้ใช้บัณฑิต และผู้แทนองค์กรวิชาชีพ (ถ้ามี) • เป็นผู้จัดทำ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายกำหนดมาตรฐานพื้นฐานที่ควรจะเป็นของสาขาวิชานั้นๆ จากการศึกษาวิจัยร่วมกัน เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษานำไปเป็นแหล่งอ้างอิงในการพัฒนาหลักสูตรที่ทุกสถาบันจะสามารถเพิ่มเติมจุดเด่น เอกลักษณ์เฉพาะของสถาบันได้อีกอย่างอิสระ หลักสูตรจึงมีความหลากหลาย แต่จะมีมาตรฐานพื้นฐานที่เทียบเคียงกันได้ เช่น มาตรฐานคุณวุฒิสาขาที่ดำเนินการแล้วเสร็จ และประกาศใช้อย่างเป็นทางการ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาที่ดำเนินการแล้วเสร็จ โดย สกอ. ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ 1) คอมพิวเตอร์ 2) พยาบาลศาสตร์ 3) โลจิสติกส์ 4) การท่องเที่ยวและการโรงแรม 5) วิศวกรรมศาสตร์ 6) การบัญชี 7) ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 8) ภาษาไทย 9) วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 10) การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 11) พยาบาลศาสตร์ (บัณฑิตศึกษา)
มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร มคอ.2 เป็นเพียงฉบับเดียวที่ส่ง สกอ. (ตามระบบการพัฒนาหลักสูตรของมหาวิทยาลัย) มคอ.7 เป็นการรายงานภาพรวมของผลการดำเนินการหลักสูตร จัดทำโดยกรรมการวิชาการและกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตร
มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ควบคุมการจัดทำโดยกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร มคอ.3 มีลักษณะคล้าย Course Syllabus โดยมีรายละเอียดมากขึ้น ประกอบด้วยวิธีการสอน การวัดและประเมินผล กลยุทธ์การสอน เพื่อให้บัณฑิตบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ แบบ มคอ.3 เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการขอตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์
ตัวอย่าง มคอ. 3 กรณีศึกษา รายวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ CPSC 101
มคอ.5 การรายงานผลรายวิชา จัดทำโดยอาจารย์ผู้สอน ควบคุมการดำเนินงานโดยกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร มคอ.5 เป็นการรายงานผลการจัดการเรียนการสอนตาม มคอ. 3
มคอ.4 การฝึกงานหรือสหกิจศึกษา ควบคุมการจัดทำโดยกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร มคอ.4 มีลักษณะคล้ายมคอ.3 และ Course Syllabus เป็นรายวิชาภาคปฏิบัติ/ภาคสนาม ประกอบด้วยวิธีการสอน การวัดและประเมินผล กลยุทธ์การสอน เพื่อให้บัณฑิตบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ มคอ.6 เป็นการรายงานผลการดำเนินการตาม มคอ.4 จัดทำโดยอาจารย์ผู้สอน ควบคุมการดำเนินงานโดยกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ตัวอย่าง มคอ. 4 กรณีศึกษา รายวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม LEAC 100
สถานการณ์หลักสูตรของมหาวิทยาลัยเนชั่นสถานการณ์หลักสูตรของมหาวิทยาลัยเนชั่น
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ • ๑๐. ให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาหลักสูตรที่จะรับนักศึกษาใหม่เป็นครั้งแรกตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้นไปตามประกาศนี้ สำหรับหลักสูตรที่เปิดสอนอยู่แล้วต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับประกาศนี้ภายในปีการศึกษา ๒๕๕๕ ประกาศ ณ วันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ (นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
2 1 บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด บัญชีบัณฑิต 3 6 นิเทศศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 5 4 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต หลักสูตรที่ดำเนินการตามเกณฑ์ TQF แล้ว สาขาวิชาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ สาขาวิชาวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และสื่อดิจิทัล วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ทิศทางการดำเนินงานของหลักสูตรที่ดำเนินการตามเกณฑ์ TQF จัดทำ 3-7 มคอ.