360 likes | 483 Views
การจัดทำคำรับรองและ การติดตามประเมินผลจังหวัด. 28 พฤศจิกายน 2555. 1. 2. 3. ที่มา. การจัดทำคำรับรองและการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด. การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556. ที่มา.
E N D
การจัดทำคำรับรองและการติดตามประเมินผลจังหวัดการจัดทำคำรับรองและการติดตามประเมินผลจังหวัด 28 พฤศจิกายน 2555
1 2 3 ที่มา การจัดทำคำรับรองและการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ที่มา หลักธรรมาภิบาล Good Governance พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ประสิทธิภาพ Efficiency ความคุ้มค่าของเงิน Value-for-Money 1 ประสิทธิผล Effectiveness คุณภาพ Quality ภาระรับผิดชอบ Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การมีส่วนร่วมของประชาชน Participation เปิดเผยโปร่งใส Transparency ตอบสนอง Responsiveness กระจายอำนาจ Decentralization แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย นิติรัฐ Rule of law 4
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 • เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ • มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ • ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น • กระจายภารกิจและทรัพยากรให้ท้องถิ่น • กระจายอำนาจตัดสินใจ • อำนวยความสะดวก ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน • รับผิดชอบต่อผลของงาน
พระราชกฤษฎีกาฯ หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เกิดประโยชน์สุข ของ ประชาชน มีการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ อย่างสม่ำเสมอ เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อ ภารกิจของรัฐ เป้าหมาย การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับการ อำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนอง ความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ มีการปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ ให้ทันต่อเหตุการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและ การทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซํบซ้อนหลาก หลาย และเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงาน ให้มีลักษณะเชิงบูรณาการเกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ระชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจและสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงบุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ต่อสถานการณ์ต่าง ๆ 6
Planning Measurement เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) Corporate Scorecard ยุทธศาสตร์รัฐบาล • แผนปฏิบัติราชการ (4ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting
มิติด้านประสิทธิผล • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด ตัวอย่าง • ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจน • ร้อยละการเพิ่มของรายได้จากการท่องเที่ยว • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน • การเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูป มิติด้านคุณภาพ มิติด้านประสิทธิภาพ • ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ • ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินบประมาณ • ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน • ระดับความสำเร็จในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการ • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติด้านการพัฒนาองค์กร • ระดับความสำเร็จของการบริหารความรู้ • ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ • ระดับความสำเร็จของการบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร
2 การจัดทำคำรับรองและการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด
วิสัยทัศน์ • พันธกิจ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด/เป้าหมาย • กลยุทธ์ • โครงการ จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กระทรวง/กลุ่มภารกิจ เจรจาตัวชี้วัด/ เป้าหมาย ประกาศให้ ประชาชนทราบ ลงนาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ รับสิ่งจูงใจตาม ระดับของผลงาน จังหวัดดำเนินการตามคำรับรองฯและประเมินผลตนเอง ประเมินผล
1)ขั้นตอนการจัดทำคำรับรอง1)ขั้นตอนการจัดทำคำรับรอง สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำรายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด”เสนอ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐพิจารณาให้ความเห็นชอบ สำนักงาน ก.พ.ร.วิเคราะห์และคัดเลือกประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด“ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ส่งให้กลุ่มจังหวัดและจังหวัดพิจารณา กลุ่มจังหวัด/จังหวัดแจ้งผลการพิจารณามายังสำนักงาน ก.พ.ร. กลุ่มจังหวัด/จังหวัดไม่เห็นด้วยกับประเด็นยุทธศาสตร์/ตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด กลุ่มจังหวัด/จังหวัดเห็นด้วยกับประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด เจรจากับคณะกรรมการเจรจาฯโดยผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกล สำนักงาน ก.พ.ร. สรุปผลเสนอ อ.ก.พ.ร.ฯ และแจ้งจังหวัด
จังหวัดจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัดจังหวัดจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้สำนักงาน ก.พ.ร จังหวัดรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 12 เดือน สำนักงาน ก.พ.ร. ติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการ ณ จังหวัด (Site visit ) จังหวัดรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 6 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ทบทวนและตรวจสอบผลคะแนนกับจังหวัดและหน่วยงานกลาง สำนักงาน ก.พ.ร./ที่ปรึกษา วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน สำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอคณะรัฐมนตรี สำนักงาน ก.พ.ร. ให้คำปรึกษาแนะนำ คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ จังหวัดรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 6 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. 2) ขั้นตอนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การติดตาม การประเมินผล นำผลการประเมินไปเชื่อมโยงกับแรงจูงใจ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 3
กรอบการประเมินผลของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 • การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) • ความพึงพอใจของผู้รับบริการ • การพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือ เคาน์เตอร์บริการประชาชน • การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) • นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด • ยุทธศาสตร์ของจังหวัด • ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนา (สังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ 70 ) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) • การประเมินประสิทธิภาพ • (ร้อยละ15) • การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ • ความสำเร็จของเป้าหมายผลผลิตของจังหวัดตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย • มาตรการประหยัดพลังงาน • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) • การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร • การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ • การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ • ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ มิติภายใน
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 15
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 16
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 17
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 18
การจัดทำตัวชี้วัดร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดการจัดทำตัวชี้วัดร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด คัดเลือกประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญ โดยพิจารณาจากลำดับความสำคัญที่จังหวัด/จังหวัดกำหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 และได้รับงบประมาณดำเนินการ คัดเลือกตัวชี้วัดคัดเลือกจากรายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัด” โดยพิจารณาประกอบกับกลยุทธ์ และเป้าประสงค์ที่กลุ่มจังหวัด/จังหวัดกำหนดไว้แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้อ่าวไทย ตัวอย่าง
ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ของจังหวัดชุมพร
ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2
ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญและตัวชี้วัด ของจังหวัดสกลนคร
เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 5 ระดับ ระดับที่ 5 ระดับที่ 4 ดีกว่าเป้าหมายมาก ระดับที่ 3 กลุ่มจังหวัด/จังหวัดต้องแสดงให้เห็นว่าสามารถบรรลุผลลัพธ์ (Outcome) หรือมีการเทียบกับมาตรฐาน (Benchmarking) ในระดับต่างๆ เช่น ระดับชาติ เป็นต้น ดีกว่าเป้าหมาย กลุ่มจังหวัด/จังหวัดต้องแสดงให้เห็นว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัดนั้นในเชิงคุณภาพ หรือนวัตกรรมทางการบริหารจัดการ หรือผลการดำเนินการทำให้เกิดผลลัพธ์ (Outcome) อย่างไร เป็นต้น ระดับที่ 2 เป็นไปตามเป้าหมาย เป็นการวางเป้าหมาย ที่จะทำสำเร็จตามแผนงานประจำปี หรือจะพัฒนาต่อเนื่องจากผลการดำเนินการในปีก่อน เป็นContinuous Improvement หรือถ้าตัวชี้วัดใดที่มีผลการดำเนินการได้สูงสุดและไม่สามารถปรับปรุงได้อีกแล้วก็อาจจะถอดตัวชี้วัดนั้นออกหรือลดน้ำหนักตัวชี้วัดนั้น เป็นต้น ระดับที่ 1 ต่ำกว่าเป้าหมาย ต่ำกว่าเป้าหมายมาก
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556
รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ปี 2556
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ 2556 30
การสำรวจความพึงพอใของผู้รับบริการ ตามตัวชี้วัด “ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ” ได้แก่ 1) งานบริการบัตรประจำตัวประชาชนและทะเบียนราษฎร หน่วยงาน : ที่ว่าการอำเภอ 2) งานจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หน่วยงาน : สำนักงานที่ดินจังหวัด และสำนักงานที่ดินสาขา 3) งานบริการผู้ป่วยนอก หน่วยงาน : โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ตั้งอยู่ในจังหวัด 4) งานบริการจัดหางาน หน่วยงาน : สำนักงานจัดหางานจังหวัด 5) การถ่ายทอดความรู้และการให้บริการทางการเกษตร หน่วยงาน: สำนักงานเกษตรจังหวัด และสำนักงานเกษตรอำเภอ
การรายงานผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 • คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด รอบ 6, 9, 12 เดือน กรอก e- SAR ในระบบเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. • ผลการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล (PMOC) • รายงานผลการดำเนินงานที่สำคัญผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นรายเดือน/รายไตรมาส • ผลการดำเนินการของตัวชี้วัดสำคัญ ได้แก่ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด, ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด และการรับจำนำข้าวเปลือก • ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์จังหวัด เช่น รายได้จากการท่องเที่ยว เป็นต้น
ระบบสนับสนุนการดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดระบบสนับสนุนการดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 • สอบถามทางโทรศัพท์ • ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ • ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 • (ราวเดือนมกราคม 2556) • คลินิกให้คำปรึกษา
กลุ่มมาตรฐานการติดตามประเมินผลกลุ่มจังหวัด/จังหวัดกลุ่มมาตรฐานการติดตามประเมินผลกลุ่มจังหวัด/จังหวัด สำนักติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ me_province@opdc.go.th savitree@opdc.go.th โทร. 0 2356 9999 ต่อ 8867 Thank you