270 likes | 474 Views
ทำไมต้องกำหนด Benchmark ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. โดย สุรีรัตน์ สุรเดชะ ผู้ช่วยผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายกำกับธุรกิจแนะนำการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 12 มกราคม 2550. หัวข้อวันนี้. แนวคิดในการกำหนด Benchmark หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง แนวทางในการปฏิบัติ. แนวคิดในการกำหนด Benchmark.
E N D
ทำไมต้องกำหนด Benchmarkของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดย สุรีรัตน์ สุรเดชะ ผู้ช่วยผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายกำกับธุรกิจแนะนำการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 12 มกราคม 2550
หัวข้อวันนี้ • แนวคิดในการกำหนด Benchmark • หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง • แนวทางในการปฏิบัติ
แนวคิดในการกำหนด Benchmark • เพื่อให้มีเครื่องมือในการวัดความสามารถของบริษัทจัดการในแต่ละช่วงเวลา • เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ
Benchmark ในอดีต • กองทุนตราสารหนี้: 1. อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี สำหรับวงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ 4 ธพ.ใหญ่ ที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ 2. อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี สำหรับวงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ 4 ธพ.ใหญ่ ที่บุคคลธรรมดาพึงได้รับ
Benchmark ในอดีต • กองทุนตราสารหนี้ : 3.Total Return of TBDC Government Bond Index 4.Total Return of TBDC Corporate Bond Index
Benchmark ในอดีต • กองทุนตราสารทุน :SET Index • กองทุนผสม : 5 ค่า ตามกองทุนตราสารหนี้ 4 ค่า + 1 ค่าตามกองทุนตราสารทุน
ปัญหาของ Benchmarkที่ใช้ในอดีต • คณะกรรมการกองทุนส่วนใหญ่ให้ความสนใจเฉพาะการเปรียบเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำเป็นหลัก • ไม่มีการถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ Benchmark ที่สอดคล้องกับสัดส่วนการลงทุนของกองทุนในทรัพย์สินแต่ละประเภท ทำให้ไม่สามารถเปรียบเทียบผลการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม
ปัญหาของ Benchmarkที่ใช้ในอดีต • TBDC Government Bond Indexและ sub group index ของ TBDC GovernmentBond Indexมี durationและ credit qualityแตกต่างจากตราสารหนี้ที่กองทุนส่วนใหญ่ลงทุน • TBDC Corporate Bond Indexไม่สะท้อนราคาตลาดที่แท้จริง เนื่องจากหุ้นกู้มีสภาพคล่องต่ำ ทำให้ indexไม่ค่อยมีการเคลื่อนไหว
วัตถุประสงค์ในการปรับปรุง Benchmark • เพื่อให้การกำหนด Benchmarkมีความเป็นมาตรฐาน และใช้เปรียบเทียบผลการดำเนินงานของกองทุนได้อย่างเหมาะสม • เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนมีเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับดูแลการบริหารจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อประโยชน์ของสมาชิกกองทุนอย่างแท้จริง
แนวทางในการปรับปรุง Benchmark • ศึกษาความเหมาะสมของ Benchmark ที่ใช้ในปัจจุบัน • จัดตั้งคณะทำงานเพื่อร่วมกันพิจารณาปรับปรุง Benchmarkให้เหมาะสม
องค์ประกอบของคณะทำงานองค์ประกอบของคณะทำงาน • ผู้แทนจากสำนักงาน ก.ล.ต. (ฝ.วิจัยและยุทธศาสตร์+ฝ.กำกับฯจัดการลงทุน) • สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) • สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (Thai BMA) ระยะเวลาในการศึกษา มี.ค.47 – ธ.ค.47
หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง • กฎหมายกำหนดให้บริษัทจัดการต้องตกลงกับคณะกรรมการกองทุนเป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับเกณฑ์การวัดผลการดำเนินงานของกองทุน สำรองเลี้ยงชีพตามหลักเกณฑ์ที่สมาคม บริษัทจัดการลงทุนกำหนด (ตามข้อ 46 ของประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สน. 23/2547 เรื่อง การจัดตั้งกองทุนรวมและการเข้าทำสัญญากองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2547)
ประกาศสมาคม AIMC • สมาคมบริษัทจัดการลงทุนจัดทำประกาศที่ สจก.กช. 1/2550เรื่อง “มาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ” โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 เป็นต้นไป
การจัดประเภทกองทุนตราสารหนี้การจัดประเภทกองทุนตราสารหนี้ • กองทุนตราสารหนี้-ตลาดเงิน • กองทุนตราสารหนี้-ตลาดเงินภาครัฐ • กองทุนตราสารหนี้-ระยะสั้น • กองทุนตราสารหนี้-ระยะสั้นภาครัฐ • กองทุนตราสารหนี้ • กองทุนตราสารหนี้-ภาครัฐ
มาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของมาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • กำหนด benchmark แยกตามประเภททรัพย์สินที่กองทุนลงทุน • ตราสารหนี้ภาครัฐ 1. ThaiBMA Zero Rate Return “ZRR” Government Bond Index ที่มีอายุเท่ากับ target duration ของกองทุน หรือ 2.Total Return of ThaiBMA Government Bond Index ในกรณีที่ไม่กำหนด target duration ของกองทุน
มาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของมาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • ตราสารหนี้ทั่วไป (ภาครัฐและภาคเอกชน) 1.ThaiBMA Zero Rate Return “ZRR” Government Bond Index ที่มีอายุเท่ากับtarget duration ของกองทุน หรือ 2.Total Return of ThaiBMA Composite Bond Indexในกรณีที่ไม่กำหนดtarget durationของกองทุน
มาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของมาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • ตราสารทุน :SET Index Return หรือ SET 50 Index Return • เงินฝากประจำ : อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปีวงเงิน 1 ล้านบาทที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พึงได้รับ เฉลี่ยของ BBL, KBANK, SCB,KTB
มาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของมาตรฐานการวัดผลการดำเนินงานของ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • กรณีกองทุนผสม Benchmarkในส่วนของตราสารทุน จะใช้น้ำหนัก การลงทุนในหุ้นไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของสัดส่วนการลงทุนต่ำสุดและสูงสุด (min +max)/2) ตามที่กำหนดไว้ในนโยบายการลงทุน
การเปิดเผยค่าความเสี่ยงการเปิดเผยค่าความเสี่ยง • กองทุนตราสารทุน :Information ratio (IR) • กองทุนตราสารหนี้และกองทุนผสม : 1.ค่าIR 2.ค่าduration ของกองทุน 3.สัดส่วนการลงทุนในตราสารหนี้ต่อNAV จำแนกตามอันดับความน่าเชื่อถือ
หน้าที่ของบริษัทจัดการหน้าที่ของบริษัทจัดการ • จัดทำและเสนอ benchmark ตามเกณฑ์ใหม่ให้กับคณะกรรมการกองทุนพร้อมนโยบายการลงทุนประจำปี 2550 ภายใน ม.ค. 2550
บทบาทของคณะกรรมการกองทุนบทบาทของคณะกรรมการกองทุน • กำหนดตัวชี้วัดตามแนวทางใหม่ ที่สอดคล้องกับนโยบายการลงทุน ร่วมกับบริษัทจัดการเป็นลายลักษณ์อักษร
การปฏิบัติที่ยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์การปฏิบัติที่ยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ • หากบริษัทจัดการได้เสนอ benchmarkและนโยบายการลงทุนปี 2550 ไปแล้ว แต่ยังไม่ได้รับการตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะกรรมการกองทุน • บริษัทจัดการสามารถใช้ benchmarkตามเกณฑ์เดิมต่อไปได้ ไม่เกินวันที่ 30 เมษายน 2550
Benchmarkvs. สัญญาจ้างบริษัทจัดการ • สัญญาจ้างบริษัทจัดการควรกำหนด วิธีการวัดผลการดำเนินงานของกองทุน • เกณฑ์ที่ใช้วัดควรเป็นมาตรฐาน • เกณฑ์ที่ไม่เป็นมาตรฐานเป็นเรื่องของความสมัครใจ (ไม่ได้ห้าม แต่ไม่แนะนำให้ใช้)
Benchmark vs.Management Fee • Benchmark ไม่เกี่ยวโดยตรงกับค่าธรรมเนียมการจัดการ • Benchmark เกี่ยวข้องกับ Incentive Fee
ข้อแนะนำ • คณะกรรมการกองทุนควรติดตามวัดผลการดำเนินงาน ของกองทุนเปรียบเทียบกับ Benchmark จากรายงานรายเดือนเป็นประจำ
พัฒนาการในอนาคต • การเปิดเผยผลการดำเนินงานของบริษัทจัดการใน www.thaipvd.com • Composite return แยกตามนโยบายการลงทุน โทรศัพท์: 02 695 9571 และ 02 263 6072